Page 16 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 16

รายงานการศึกษาวิจัย  XI
                                                          การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



                                  อยางไรก็ดี ประเด็นสําคัญในเรื่องการเลือกปฏิบัติ มิใชจํากัดอยูเฉพาะเรื่องสถานการณและ
               ความรุนแรงในการแกปญหา ผลการศึกษาที่ผานมายังชี้ใหเห็นวา ชองทางในการรองเรียนเพื่อใหเกิดการแกปญหา

               การเลือกปฏิบัติที่ผูติดเชื้อเขาถึงไดงายและประสบผลรวดเร็วกวามักจะเปนองคกรภาคประชาสังคมที่มีทรัพยากร
               จํากัด และแมจะมีชองทางในการรองเรียนตอองคกรภาครัฐและองคกรตามรัฐธรรมนูญ แตก็เขาถึงไดยาก อยางเชน

               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ก็มีภารกิจที่ครอบคลุมสิทธิมนุษยชนหลายเรื่อง การแกไขปญหาแตละเรื่อง
               จึงใชเวลายาวนาน ประเด็นสําคัญที่ควรพิจารณาตอไปคือ จะผลักดันใหหนวยงานที่มีบทบาทหนาที่โดยตรง ดําเนินงาน

               คุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น และสนับสนุนองคกร
               ภาคประชาสังคมเหลานี้ใหมีทรัพยากรในการดําเนินงานใหมากขึ้น เพื่อใหสามารถทํางานสงเสริมและคุมครองสิทธิ

               ของผูติดเชื้อเอชไอวีไดอยางตอเนื่องและยั่งยืน

                           2.1.2  ผลกระทบจากการเลือกปฏิบัติ

                                  จากผลการศึกษา พบวา เมื่อผูติดเชื้อเอชไอวี ประสบปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพ
               ผูติดเชื้อไดรับผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม ดังนี้

                                  ผลกระทบโดยตรง
                                    ทําใหตองสูญเสียงานและแหลงรายไดหลัก ในบางกรณี ผูติดเชื้อยังรูสึกวาสถานะ

               การติดเชื้อมีผลตอความกาวหนาในการทํางานดวย
                                  การบังคับตรวจเลือดในการสมัครงาน ทําใหผูติดเชื้อมีทางเลือกในการประกอบอาชีพ

               นอยลง ขาดโอกาสในความกาวหนาในการทํางาน ตลอดจนโอกาสในการเพิ่มรายได
                                  ผลกระทบทางออม

                                  ทําใหผูติดเชื้อยิ่งตีตราบาปใหตัวเอง (self-stigma) หรือเปนการตีตราภายในตนเอง
               (internal stigma) ยอมรับทัศนะของคนรอบขางวา การติดเชื้อเอชไอวีเปนเรื่องผิดบาป นารังเกียจ เห็นวาการ

               เลือกปฏิบัติของคนอื่นๆ เปนเรื่องที่ถูกตอง เหมาะสม ดังนั้น จึงเลือกที่จะไมเปดเผยขอมูลของตนเอง ใชชีวิตอยู
               อยางหวาดระแวง เกรงวาผูอื่นจะรูตลอดเวลา ในหลายกรณีที่ผูติดเชื้อตัดสินใจเปดเผยขอมูลและเขารับการรักษา

               ชาเกินไป ทําใหเสียชีวิตกอนเวลาอันควร
                                    กรณีที่ผูติดเชื้อเปดเผยตนเองตอคนรอบขางและคนในชุมชนโดยไมสมัครใจ ทําใหตอง

               ประสบความยากลําบากในการดํารงชีวิต ไมเฉพาะตัวผูติดเชื้อ แตรวมถึงครอบครัวและคนใกลชิด ไดรับผลกระทบ
               จากการถูกตีตราและตั้งขอรังเกียจจากคนในชุมชนดวย

                                  การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพ เปนจุดเริ่มตนหนึ่งที่สงผลใหมีการละเมิด
               สิทธิมนุษยชนดานอื่น ๆ ของผูติดเชื้อ ไมวาจะเปนการถูกบังคับใหเขารับบริการทางการแพทย รวมทั้งตรวจเลือดหาเชื้อ

               เอชไอวี การถูกกักตัว กักเพื่อตรวจโรคถูกทอดทิ้งใหโดดเดี่ยว แบงแยก ทั้งยังมีการตรวจเลือดการไดรับบริการ
               ปรึกษาที่ไมรอบดานบีบบังคับการแจงผลเลือดการถูกกดดันใหบอกสถานะของการติดเชื้อ ถูกเลือกปฏิบัติในการ

               เขารับบริการทางการแพทย เชน ถูกจัดใหทําฟนหรือตรวจมะเร็งปากมดลูกเปนลําดับทาย
                                    ผลกระทบตอเศรษฐกิจในภาพรวม เมื่อสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ใหบริการ

               โครงการหลักประกันสุขภาพถวนหนา โดยครอบคลุมยาตานไวรัสสําหรับผูติดเชื้อ เพื่อใหผูติดเชื้อมีสุขภาพแข็งแรง
               และสามารถดําเนินชีวิตไดตามปกติ แตในทางปฏิบัติ กลับมีการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ

               ทําใหกําลังแรงงานสวนหนึ่งหายไปจากระบบอยางนาเสียดาย
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21