Page 19 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 19

XIV  รายงานการศึกษาวิจัย
                การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



                          3.1.1 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ผลักดันโดยตรงดวยการเสนอแนะนโยบายและ
              ขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมายและกฎที่มีเนื้อหาขจัดการเลือกปฏิบัติ ตอรัฐสภาหรือคณะรัฐมนตรี เพื่อสงเสริม

              และคุมครองสิทธิมนุษยชนตอผูที่สุมเสี่ยงตอการถูกเลือกปฏิบัติ ตามอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
                                                                                                6
              แหงชาติ ในบทบัญญัติ มาตรา 257(5) ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550  โดยกําหนด
              ใหมีเนื้อหาที่ครอบคลุมการขจัดการเลือกปฏิบัติตอกลุมผูติดเชื้อเอชไอวี ผูที่ไดรับผลกระทบจากเชื้อเอชไอวี รวมถึง
              กลุมเปาหมายอื่น ๆ ที่ประสบปญหาการเลือกปฏิบัติ

                                 โดยแนวทางในการบัญญัติกฎหมายดังกลาวจะตอง
                                   ตั้งอยูบนพื้นฐานแหงสิทธิ (Rights based)

                                 มีมิติเพื่อตอบสนองตอหญิงชายอยางเทาเทียม (gender responsiveness)
                                 ใหความสําคัญกับรูปแบบของกลไกการรองทุกข วิธีการเยียวยาและลักษณะขององคกร

              ที่ทําหนาที่รับเรื่องราวการรองทุกขและติดตามประเมินผลและการรายงานสําหรับบทบัญญัติเพื่อขจัดการเลือก
              ปฏิบัติในการประกอบอาชีพนั้น

                                 สงเสริมบทบาทของนายจาง องคกรลูกจาง และองคกรภาคประชาสังคมเพื่อสงเสริม
              การคุมครองสิทธิของกลุมผูอาศัยอยูรวมกับเชื้อเอชไอวีทั้งในระหวางการจัดหางาน การสมัครงาน และการจางงาน

                                 มีบทลงโทษในกรณีการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพ การละเมิดสิทธิสวนบุคคล
              และการเปดเผยขอมูลลับตาง ๆ ที่มีความชัดเจนและเพียงพอ ทั้งบทลงโทษทางอาญาและบทลงโทษทางแพง

              เพื่อปองกันการเลือกปฏิบัติ
                                 สงเสริมการคุมครองสิทธิของกลุมผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวีในรูปแบบของการลดหยอน

              อัตราภาษี หรือการยกเวนภาษี หรือการสนับสนุนทางดานตัวเงิน หรือโครงการความรับผิดชอบตอสังคมตอ
              สถานประกอบการ นายจางที่มีบทบาทในการสงเสริมการคุมครองสิทธิของกลุมอยูรวมกับเชื้อเอชไอวีถือเปนประเด็น

              ที่ควรนํามาพิจารณาประกอบการบัญญัติกฎหมาย
                          3.1.2 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ผลักดันทางออมโดยสนับสนุนหรือดําเนินการ

              รวมกับหนวยงานอื่นที่ดําเนินการอยูแลว เชน คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายและองคกรเครือขาย เครือขาย
              คนพิการ โดยกําหนดใหมีเนื้อหาที่ครอบคลุมการขจัดการเลือกปฏิบัติตอกลุมผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี และผูที่ไดรับ

              ผลกระทบจากเชื้อเอชไอวีดวย โดยมีแนวทางเดียวกับขอ 3.1.1

                     3.2  ขอเสนอแนะแนวทางและมาตรการที่เหมาะสมในการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพ
              ของผูติดเชื้อเอชไอวี โดยใชมาตรการอื่น ๆ

                          จากผลการศึกษาสถานการณการเลือกปฏิบัติและความพยายามในการแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติ

              ในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีในสวนที่ไมใชมาตรการทางกฎหมาย พบวา แมจะมีความริเริ่ม
              ในการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีดังที่ปรากฏในแนวปฏิบัติการปองกันและจัดการ

              ดานเอดสในสถานประกอบกิจการ ซึ่งกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานประกาศใชในป พ.ศ. 2548 (ตอมา
              ปรับปรุงแกไขในป 2554) และแนวปฏิบัติแหงชาติวาดวยการปองกันและบริหารจัดการดานเอดสในสถานที่ทํางาน



              6  รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 257 (5) “เสนอแนะนโยบายและขอเสนอในการพัฒนากฎหมาย และกฏ ตอรัฐสภา หรือ
                คณะรัฐมนตรีเพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน”
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24