Page 20 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 20
รายงานการศึกษาวิจัย XV
การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี
ซึ่ง คช.ปอ. ประกาศใชในป พ.ศ. 2552 แตก็ดูเหมือนวาแนวปฏิบัติทั้งสองฉบับจะไมสามารถบังคับใชไดอยางมี
ประสิทธิภาพ เนื่องจากยังพบวามีสถานประกอบการจํานวนหนึ่งยังมีนโยบายเลือกปฏิบัติตอการประกอบอาชีพ
ของผูติดเชื้อในหลายประเภทกิจการ และในสวน คช.ปอ. ซึ่งแมจะเปนกลไกความรวมมือระหวางภาคราชการและ
ภาคประชาสังคม มีการจัดทํายุทธศาสตรการปองกันและแกไขปญหาเอดสชาติ พ.ศ. 2555-2559 ที่มีเปาหมายหนึ่ง
ในการลดปญหาการเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวี แตเนื่องจากขาดทรัพยากรสนับสนุนอยางตอเนื่อง
จึงเปนอุปสรรคในการดําเนินงานลดปญหาการเลือกปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ
ในขณะที่การเขาถึงกลไกภาครัฐเปนเรื่องยาก และนอยครั้งที่ทําใหเกิดการแกไขปญหาในทางปฏิบัติ
กลไกที่ผูติดเชื้อสามารถเขาถึงไดมากที่สุด และสามารถผลักดันใหเกิดการแกไขปญหาเฉพาะหนาไดมากที่สุด
จึงกลายเปนกลไกภาคประชาสังคม อยางไรก็ดี กลไกภาคประชาสังคมที่เนนการทํางานลดการเลือกปฏิบัติ
โดยใชวิธีการเสริมสรางความเขาใจกับผูประกอบการก็มีขอจํากัดในการดําเนินงานเนื่องจากมีทรัพยากรและ
บุคลากรที่จํากัด ดังนั้น จึงจําเปนตองพิจารณาแนวทางและมาตรการที่เหมาะสมในการคุมครองสิทธิในการ
ประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี นอกเหนือจากมุมมองทางกฎหมายและกลไกภาครัฐ จากผลการวิเคราะหบริบท
ของการคุมครองสิทธิผูติดเชื้อเอชไอวีในประเทศไทย รูปแบบที่เหมาะสมในการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพ
ของผูติดเชื้อเอชไอวี จึงเปนรูปแบบการสงเสริมการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี
ในภาคประชาสังคม โดยสนับสนุนและเสริมพลังใหกลไกในภาคประชาสังคมที่สามารถดําเนินงานคุมครองสิทธิ
ในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีอยูแลว มีทรัพยากรในการดําเนินงานที่เพียงพอ เพื่อใหสามารถเขาถึง
ผูที่ประสบปญหาไดอยางกวางขวางขึ้นและเสริมพลังใหผูติดเชื้อมีศักยภาพในการคุมครองสิทธิและดูแล
ซึ่งกันและกันอยางยั่งยืน แนวทางการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีในดานนี้ มีดังนี้
3.2.1 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ควรกําหนดมาตรการที่ชัดเจนในการสนับสนุน
การดําเนินงานขององคกรเอกชนดานสิทธิมนุษยชน ตลอดจนเจาของปญหาที่ไดรับผลกระทบในการเลือกปฏิบัติ
และละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเด็นดังกลาว โดยอาจพิจารณาแนวทางการสงเสริมสิทธิมนุษยชนในภาค
ประชาสังคม ดวยการจัดตั้งกองทุนเพื่อสงเสริมการคุมครองสิทธิมนุษยชน รวมทั้งเสนอแนะไปยังรัฐบาล
เพื่อใหมีการตั้งกองทุนเพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนของผูติดเชื้อเอชไอวีผานคณะกรรมการแหงชาติ
วาดวยการปองกันและแกไขปญหาเอดส (คช.ปอ.) ทั้งนี้ เพื่อลดชองวางในการดําเนินงานเพื่อคุมครองสิทธิในการ
ประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีของภาครัฐ โดยยอมรับและสนับสนุนใหเกิดความรวมมือจากภาคประชาสังคม
และเสริมความเขมแข็งใหกับองคกรภาคประชาสังคมและเจาของปญหาใหมีสวนในการแกไขปญหาอยางยั่งยืน
โดยถือเปนการใชอํานาจตามมาตรา 257 (7) ตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
7
2550 และมาตรา 24 แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542
3.2.2 คณะกรรมการสิทธิมนุษชนแหงชาติ ตองใหความสําคัญกับการแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติ
ในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีที่ตนเหตุคือ การขาดความรูความเขาใจที่สําคัญในเรื่องการติดตอและ
สิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวี จึงจําเปนตองใหความสําคัญกับมาตรการสรางความรูความเขาใจเพื่อการแกไขปญหา
การละเมิดสิทธิ สงเสริมใหมีการสรางความรูความเขาใจตอสาธารณชนในเรื่องการติดเชื้อเอชไอวี ความกาวหนา
7 ตามมาตรา 257 (7) แหงในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 บัญญัติอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนไวดังนี้ “สงเสริม
ความรวมมือและการประสานงานระหวางหนวยราชการ องคการเอกชน และองคการอื่นในดานสิทธิมนุษยชน” และมาตรา 23-24 แหงพระราชบัญญัติ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 กลาวถึงบทบาทขององคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนในฐานะกลไกการทํางานรวมกับคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหงชาติ