Page 17 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 17

XII  รายงานการศึกษาวิจัย
                การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



                          2.1.3  สาเหตุของการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี
                                 จากผลการศึกษาที่ผานมาพบวา สาเหตุหลักของการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของ

              ผูติดเชื้อมีดังนี้
                                   การขาดความรูที่ถูกตองของคนในสังคมเรื่องการติดเชื้อเอชไอวี ทําใหนายจางในกิจการ

              ประเภทที่เกี่ยวของกับอาหารและการบริการ หวาดกลัว และตั้งขอรังเกียจ
                                 การขาดความรูในเรื่องกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิและการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายไทย

              ทั้งในสวนของนายจางและตัวผูติดเชื้อเอง สาเหตุนี้ทําใหนายจางจํานวนมากยังคงมีนโยบายเลือกปฏิบัติ ในขณะที่
              ตัวผูติดเชื้อจํานวนมากก็ไมรูสิทธิของตนเองและยอมรับการถูกละเมิดสิทธิ

                                   การขาดความรูความเขาใจในเรื่องความกาวหนาของเทคโนโลยีการดูแลรักษาที่สามารถ
              ทําใหผูติดเชื้อเอชไอวีสามารถดํารงชีวิตไดตามปกติ ทําใหผูคนจํานวนมากยังเขาใจวาผูติดเชื้อเอชไอวีจะมีสุขภาพ

              ไมแข็งแรง นายจางจํานวนหนึ่งจึงไมยอมจางผูติดเชื้อเขาทํางาน เพราะเกรงวาจะไมคุมและตองมีรายจายเพิ่ม
                                 อคติของคนในสังคมที่ยังคงมองวา ผูติดเชื้อเอชไอวีเปนผูที่มีพฤติกรรมไมพึงประสงค

              จึงไมควรจะไปเกี่ยวของกับผูติดเชื้อ
                                 การขาดความรู ความเขาใจและอคติเหลานี้ เปนผลมาจากการรณรงคปองกันการระบาด

              ของโรคเอดสตั้งแตทศวรรษแรก ๆ ที่มีลักษณะขูใหคนกลัว ซึ่งการปลูกฝงมายาคติทําใหเอดสและเชื้อเอชไอวี
              เปนเรื่องนากลัวโดยนโยบายการบริหารจัดการเอดสของภาครัฐเชนนี้เคยถูกวิจารณวา นโยบายของรัฐในการ

              จัดการปญหาโรคเอดสคือการลดพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อปองกันการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวีไปยังผูอื่นตกอยูภายใต
              แนวคิดระบาดวิทยานั้นเปนการจํากัดมุมมองไมใหเห็นเอดสในมิติอื่นๆ และยิ่งเปนการซํ้าเติมการตีตราและการ

              เลือกปฏิบัติอยูตอไป
                                 จากการศึกษาสถานการณและปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพตอผูอยูรวมกับ

              เชื้อเอชไอวีของไทย พบวา ภายใตกรอบกฎหมายปจจุบัน แมประเทศไทยยังไมมีกฎหมายเฉพาะเพื่อขจัดการเลือก
              ปฏิบัติตอกลุมผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวีแตรัฐธรรมนูญของประเทศไทยไดมีบทบัญญัติในหลักความเสมอภาค

              และการไมเลือกปฏิบัติ อีกทั้งยังมีบทบัญญัติวาดวยการเลือกปฎิบัติที่เปนธรรมเพื่อใชเปนมาตรการคุมครองกลุม
              ที่มีความแตกตางในสถานการณที่แตกตาง ซึ่งกรณีของกลุมผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวีก็จะไดรับประโยชนจาก

              บทบัญญัติดังกลาวเชนกัน เมื่อพิจารณาบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 30
              วรรคสาม จะพบวาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพ อาทิ การบังคับใหมีการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวีของ

              ผูสมัครงานหรือพนักงาน ไมวาระหวางการจัดหางาน การสมัครงาน หรือการจางงาน รวมตลอดถึงการเลิกจาง
              พนักงานดวยเหตุที่เปนผูอยูรวมกับเชื้อเอชไอวีถือวาเปนการกระทําที่ขัดตอรัฐธรรมนูญ นอกจากการกระทํา

              ที่ขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญแลว พบวา การกระทําของนายจางบางประการ อาทิ การเขาถึงขอมูลดาน
              สุขภาพของลูกจางโดยไมไดรับความยินยอม หรือการขอใหโรงพยาบาลแจงผลการตรวจสุขภาพและการตรวจเลือด

              ถือเปนการละเมิดสิทธิสวนบุคคล และเปนทั้งความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาและประมวลกฎหมายแพงและ
              พาณิชย

                                 แมรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยไดรับรองและคุมครองบุคคลจากการเลือกปฏิบัติ
              แตจากการศึกษาพบวา ปญหาเชิงโครงสรางของระบบกลไกการรองทุกขภายใตรัฐธรรมนูญซึ่งมีกระบวนการและ

              ขั้นตอนที่ซับซอนและอาจตองใชเวลานานเกินความจําเปน เนื่องจากมีความทับซอนในเขตอํานาจขององคกร
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22