Page 18 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 18

รายงานการศึกษาวิจัย  XIII
                                                          การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



               ที่เกี่ยวของหลายองคกร เชน กรณีที่บุคคลถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญรับรองไว หากจะใชสิทธิ
               ทางศาลรัฐธรรมนูญเพื่อมีคําวินิจฉัยในกรณีมีบทบัญญัติแหงกฎหมายขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ จะสามารถกระทําได

               ก็ตอเมื่อไดดําเนินการตามชองทางอื่น ๆ (มาตรา 212) เชน ยื่นคํารองผานผูตรวจการแผนดิน (มาตรา 245)

               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (มาตรา 257) หรือ ศาล (มาตรา 211) กลายเปนอุปสรรคสําคัญที่ทําใหบุคคล
               ผูถูกกระทบสิทธิประสบปญหาการเขาถึงกลไกการรองทุกขและการไดรับการเยียวยาจากการเลือกปฏิบัติ เนื่องจาก
               ไมตองการที่จะเขาสูกระบวนการตามกลไกที่มีอยู ดังนั้น ควรมีการพิจารณาพัฒนากลไกการรองทุกขที่มี

               ความสอดคลองกับความตองการของผูติดเชื้อเอชไอวี

                                  นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบวา การดําเนินกิจกรรมการสงเสริมการเขาถึงกลไกการรองทุกข
               ของหนวยงานที่เกี่ยวของในที่นี้ คือ ภาครัฐและภาคประชาสังคม ยังขาดการบูรณาการในมิติตาง ๆ อยางชัดเจน
               อาทิ การบริหารจัดการฐานขอมูลรวมกัน แนวปฏิบัติในการสรางกลไกการสงตอ และระบบการติดตามประเมินผล

               อยางมีประสิทธิภาพ สงผลกระทบตอการกําหนดแผนหรือยุทธศาสตรดานการสงเสริมการเขาถึงกลไกการคุมครอง

               อยางเปนระบบ


               3. ขอเสนอแนะจากการศึกษา


                      ในการเสนอแนะรูปแบบที่เหมาะสมในการแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ
               เอชไอวี ในที่นี้ คณะผูวิจัยแบงขอเสนอเปน 2 แบบ คือ ขอเสนอเชิงนโยบายที่เกี่ยวของกับกฎหมาย ซึ่งไดมาจาก
               การทบทวนแนวคิดหลักความเสมอภาคในการประกอบอาชีพ หลักการสิทธิมนุษยชนและมาตรฐานสากล

               ที่เกี่ยวของกับการคุมครองสิทธิ ในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี โดยสังเคราะหรวมกับผลการศึกษาสภาพ

               และสาเหตุการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีในบริบทของประเทศไทย และแบบที่สอง
               เปนขอเสนอแนะแนวทางและมาตรการที่เหมาะสมในการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ โดยใช
               มาตรการอื่น ๆ แตละสวนมีรายละเอียดดังนี้

                      3.1  ขอเสนอเชิงนโยบายและขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมายเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติในการประกอบ
               อาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี

                           แมวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จะมีบทบัญญัติเพื่อคุมครองบุคคลจาก
               การเลือกปฏิบัติ ดังที่ปรากฏในมาตรา 30 วรรคสาม แตกฎหมายที่ใชในการคุมครองสิทธิของผูประสบปญหา
               ถูกเลือกปฏิบัติยังมีลักษณะกระจัดกระจาย เชน ในประมวลกฎหมายอาญา และประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

               อีกทั้งผูประสบปญหาการเลือกปฏิบัติก็ไมสามารถเขาถึงกลไกการคุมครองสิทธิตามรัฐธรรมนูญไดโดยตรง จึงมี

               ความจําเปนตองพิจารณาบัญญัติกฎหมายขจัดการเลือกปฏิบัติ ที่กําหนดบรรทัดฐานที่ชัดเจนในการคุมครองกรณี
               การถูกเลือกปฏิบัติ ทั้งที่หนวยงานรัฐและหนวยงานภาคเอกชนตองปฏิบัติตาม อันจะเปนแนวทางหนึ่งในการแกไข
               ปญหาการเลือกปฏิบัติที่ปรากฏในระเบียบปฏิบัติของหนวยงานตาง ๆ รวมทั้งการสรางกลไก/กระบวนการคุมครอง

               สิทธิที่ผูถูกละเมิดสิทธิสามารถเขาถึงไดโดยตรง ดังนั้น จําเปนตองมีการผลักดันกฎหมายเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติ

               หรือกฎหมายเพื่อความเสมอภาคในภาพรวมในลักษณะเดียวกับกฎหมายเสมอภาคของประเทศสหราชอาณาจักร
               เพื่อลดปญหาการซํ้าเติมการเลือกปฏิบัติและเสริมพลังการขับเคลื่อนกฎหมาย กฎหมายฉบับนี้ ไมจําเปนตองเปน
               กฎหมายเฉพาะสําหรับผูติดเชื้อเอชไอวี แตตองสังเคราะหรวมกับปญหาการเลือกปฏิบัติในกลุมอื่น ๆ ไดแก

               กลุมคนพิการ ผนวกกลุมเปาหมายอื่นที่ประสบปญหาการเลือกปฏิบัติดวย โดย
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23