Page 86 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 86

รายงานการศึกษาวิจัย  71
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                                การกลาวหรือไขขาวแพรหลายซึ่งขอความหรือภาพไมวาดวยวิธีใดไปยังสาธารณชน อันเปน
               การละเมิดหรือกระทบถึงสิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเปนอยูสวนตัวจะกระทํามิได
               เวนแตกรณีที่เปนประโยชนตอสาธารณะ

                                บุคคลยอมมีสิทธิไดรับความคุมครองจากการแสวงประโยชนโดยมิชอบจากขอมูล

               สวนบุคคลที่เกี่ยวกับตน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
                        3.3.2   ขอจํากัดสิทธิในความเปนอยูสวนตัวเกี่ยวกับเกี่ยวชีวิตและรางกาย
                              -  รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 32

                                บุคคลยอมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและรางกาย

                                การทรมาน ทารุณกรรม หรือการลงโทษดวยวิธีการโหดรายหรือไรมนุษยธรรม จะกระทํามิได
               แตการลงโทษตามคําพิพากษาของศาลหรือตามที่กฎหมายบัญญัติไมถือวา เปนการลงโทษดวยวิธีการโหดราย
               หรือไรมนุษยธรรมตามความในวรรคนี้

                                การจับและการคุมขังบุคคล จะกระทํามิได เวนแตมีคําสั่งหรือหมายของศาลหรือ

               มีเหตุอยางอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
                                การคนตัวบุคคลหรือการกระทําใดอันกระทบตอสิทธิและเสรีภาพตามวรรคหนึ่ง
               จะกระทํามิได เวนแตมีเหตุตามที่กฎหมายบัญญัติ

                                ในกรณีที่มีการกระทําซึ่งกระทบตอสิทธิและเสรีภาพตามวรรคหนึ่ง ผูเสียหาย พนักงาน

               อัยการหรือบุคคลอื่นใดเพื่อประโยชนของผูเสียหาย มีสิทธิรองตอศาลเพื่อใหสั่งระงับหรือเพิกถอนการกระทํา
               เชนวานั้น รวมทั้งจะกําหนดวิธีการตามสมควรหรือการเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นดวยก็ได
                        3.3.3   ขอจํากัดสิทธิในความเปนอยูสวนตัวเกี่ยวกับการติดตอสื่อสาร

                              -  รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 36

                                บุคคลยอมมีเสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทางที่ชอบดวยกฎหมาย
                                การตรวจ การกัก หรือการเปดเผยสิ่งสื่อสารที่บุคคลมีติดตอถึงกัน รวมทั้งการกระทําดวย
               ประการอื่นใดเพื่อใหลวงรูถึงขอความในสิ่งสื่อสารทั้งหลายที่บุคคลมีติดตอถึงกัน จะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัย

               อํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ หรือเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือ

               ศีลธรรมอันดีของประชาชน
                        3.3.4   ขอจํากัดสิทธิในความเปนอยูสวนตัวเกี่ยวกับการอยูหรือพักอาศัย
                              -  รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 33

                                บุคคลยอมมีเสรีภาพในเคหสถาน

                                บุคคลยอมไดรับความคุมครองในการที่จะอยูอาศัยและครอบครองเคหสถานโดยปกติสุข
                                การเขาไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของผูครอบครอง หรือการตรวจคน
               เคหสถานหรือในที่รโหฐาน จะกระทํามิได เวนแตมีคําสั่งหรือหมายของศาล หรือมีเหตุอยางอื่นตามที่กฎหมาย

               บัญญัติ
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91