Page 28 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 28

รายงานการศึกษาวิจัย  13
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                        แมบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จะกําหนดรับรองและคุมครอง
               สิทธิความเปนอยูสวนตัวไวโดยชัดเจน แตเนื่องจากในปจจุบันเปนยุคที่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไดพัฒนาขึ้น
               อยางรวดเร็ว สงผลใหการติดตอสื่อสารระหวางกันเปนไปไดโดยสะดวก รวดเร็ว เชื่อมตอขอมูลกันไดทั่วโลก

               ในทางตรงกันขาม ความเจริญทางเทคโนโลยีสารสนเทศดังกลาวนั้นก็สงผลกระทบตอสิทธิในความเปนสวนตัว

               เปนอยางมากเชนกัน กลาวคือ เมื่อเทคโนโลยีสารสนเทศมีประสิทธิภาพ ก็สงผลใหการละเมิดสิทธิความเปนสวนตัว
               ของบุคคลเกิดขึ้นไดงายยิ่งขึ้น และเมื่อการละเมิดสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของบุคคลมีแนวโนมที่จะเปนเรื่อง
               ที่เกิดขึ้นไดงายในสังคมไทยปจจุบัน จึงถือเปนภาระหนาที่ที่สําคัญของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

               ในฐานะองคกรหลักในการปกปองและคุมครองสิทธิมนุษยชนจะตองเขามามีบทบาทในการตรวจสอบการละเมิด

               สิทธิในความเปนอยูสวนตัวของบุคคล แตการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
               ในกรณีนี้ จําเปนจะตองมีกําหนดกรอบหรือขอบเขตของคําวา “ความเปนอยูสวนตัวของบุคคล” ที่คณะกรรมการ
               สิทธิมนุษยชนแหงชาติมีสิทธิที่จะเขาไปตรวจสอบใหมีความชัดเจน เพื่อใหการตรวจสอบเปนไปอยางมี

               ประสิทธิภาพและสามารถใหความคุมครองสิทธิในความเปนสวนตัวของบุคคลได



               1.4 ประเภทของสิทธิความเปนสวนตัว
                        สิทธิความเปนสวนตัว สามารถจําแนกออกไดเปน 4 ดาน ดังนี้

                        1.4.1   ความเปนสวนตัวเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลหรือขอมูลสวนตัว (Information Privacy)

                              เปนการใหความคุมครองขอมูลสวนบุคคลโดยการวางหลักเกณฑเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมและ
               การบริหารจัดการขอมูลสวนบุคคล
                              ทั้งนี้ ความเปนสวนตัวเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลหรือขอมูลสวนตัวนั้น มีหลักการสากลที่เปนกรอบ

               ในการคุมครองขอมูลสวนบุคคล (Guidelines on the protection of Privacy and Transborder Data Flows

               of Personal Data) ขององคการเพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ซึ่งหลักเกณฑดังกลาว
               ประกอบดวย
                              1)   หลักขอจํากัดในการเก็บรวบรวมขอมูล

                                  สาระสําคัญ คือ ในการเก็บรวบรวมขอมูลนั้นตองชอบดวยกฎหมายและตองใชวิธีการที่เปนธรรม

               และเหมาะสม โดยในการเก็บรวบรวมขอมูลนั้นตองใหเจาของขอมูลรูเห็น รับรู หรือไดรับความยินยอมจากเจาของ
               ขอมูล
                              2)   หลักคุณภาพของขอมูล

                                  สาระสําคัญ คือ ขอมูลที่เก็บรวบรวมนั้นตองเกี่ยวของกับวัตถุประสงคที่กําหนดขึ้นวา

               “จะนําไปใชทําอะไร” และเปนไปตามอํานาจหนาที่และวัตถุประสงคในการดําเนินงานของหนวยงานตามที่
               กฎหมายกําหนด นอกจากนั้น ขอมูลดังกลาวจะตองถูกตอง สมบูรณ หรือทําใหเปนปจจุบันหรือทันสมัยอยูเสมอ
                              3)   หลักการกําหนดวัตถุประสงคในการจัดเก็บ

                                  สาระสําคัญ คือ ตองกําหนดวัตถุประสงควาขอมูลที่มีการเก็บรวบรวมนั้น เก็บรวบรวม

               ไปเพื่ออะไร พรอมทั้งกําหนดระยะเวลาที่เก็บรวบรวมหรือรักษาขอมูลนั้น ตลอดจนกรณีที่จําเปนตองมีการ
               เปลี่ยนแปลงวัตถุประสงคในการเก็บรวบรวมขอมูลเชนวานั้นไวใหชัดเจน
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33