Page 23 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 23

8    รายงานการศึกษาวิจัย
                 เรื่อง  ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                         15)  การแจงเกี่ยวกับการตาย เจ็บปวย หรือการโอนตัวผูตองขัง
                             -  คูสมรส หรือญาติของผูตองขังจะไดรับการแจงวาผูตองขังถึงแกความตาย หรือเจ็บปวย
              อยางหนัก หรือการสงตัวผูตองขังไปยังเรือนจําเพื่อบําบัดทางจิต

                             -  ผูตองขังจะไดรับการแจงขาวการตาย หรือเจ็บปวยอยางหนักของญาติสนิทของตน ในกรณี

              ที่ญาติเจ็บปวยอาการหนักมาก ผูตองขังมีสิทธิไดรับอนุญาตใหไปเยี่ยมได
                             -  ผูตองขังทุกคนมีสิทธิแจงใหครอบครัวของตนทราบในทันทีที่ถูกสงตัวไปในเรือนจําหรือ
              เมื่อถูกโอนไปยังเรือนจําอื่น

                         16)  การยายผูตองขัง

                             -  การยายผูตองขังเขาหรือออกเรือนจํา พึงระวังใหอยูในสายตาของประชาชนนอยที่สุด
              และการควบคุมจะตองกระทําไปในทางที่มิใหผูตองขังไดรับการดูหมิ่นหรือเหยียดหยาม
                             -  ยานพาหนะที่ใชลําเลียงผูตองขัง ทางราชการตองเปนผูเสียคาใชจาย

                         17)  การตรวจเรือนจําควรใหผูตรวจราชการที่ทรงคุณวุฒิและชํานาญงานไปตรวจเรือนจํา

              อยางสมํ่าเสมอ และผูมีอํานาจบริหารตามกฎหมายเปนผูแตงตั้งผูตรวจราชการเรือนจําใหมีหนาที่โดยเฉพาะ
              ในการตรวจ ก็เพื่อใหเรือนจําบริหารงานไปตามกฎหมายและขอบังคับที่ตราไว และตรงตามความมุงหมาย
              ของการลงโทษและวิธีการอบรมแกไข

                         อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัติปรากฏขอเท็จจริงใหเห็นอยูเนือง ๆ เกี่ยวกับการกระทําอันกอใหเกิด

              ผลกระทบหรือเปนการรุกลํ้าสิทธิในความเปนสวนตัวในประเทศตาง ๆ โดยทั่วไปสําหรับประเทศไทยก็เชนเดียวกัน
              มีการกระทําในลักษณะตาง ๆ ที่อาจกอใหเกิดปญหาเกี่ยวกับการกระทําซึ่งกระทบตอสิทธิในความเปนสวนตัว
              ของบุคคล และนํามาซึ่งปญหาในการตรวจสอบและพิจารณาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

              ของประเทศไทยวาการกระทํานั้น ๆ เปนการกระทําโดยชอบดวยกฎหมาย หรือในทางตรงกันขามเปนการกระทํา

              อันเปนการละเมิดสิทธิในความเปนสวนตัวของบุคคล ซึ่งขัดตอสิทธิมนุษยชนตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการ
              คุมครองสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542
                         การศึกษาวิจัยนี้ จึงมีวัตถุประสงคในการศึกษาบทบัญญัติของกฎหมายระหวางประเทศ กฎหมาย

              ของประเทศไทยและของตางประเทศที่เกี่ยวกับการการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนสวนตัว ตลอดจน

              การวิเคราะหประเด็นปญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวของกับการกระทําอันอาจเปนการละเมิดสิทธิในความเปนสวนตัว
              ผานคดีและเรื่องรองเรียนตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อนําผลการศึกษาวิเคราะหมากําหนดขอบเขตและแนวทาง
              ในการใชอํานาจตรวจสอบของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิความเปนสวนตัว

              ของบุคคล ทั้งนี้ เพื่อใหความคุมครองสิทธิในความเปนสวนตัวของ

                         บุคคลเปนสําคัญ เพื่อวัตถุประสงคดังกลาวคณะผูวิจัยไดนําปญหาเกี่ยวกับการกระทําของบุคคล
              ตาง ๆ และในลักษณะตาง ๆ ที่มีการรองเรียนมายังคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมาใชเปนกรณีศึกษา
              ในงานศึกษาวิจัยนี้ เพื่อนําปญหาตาง ๆ มาศึกษาวิเคราะหและจัดทําความเห็นพรอมทั้งขอเสนอแนะ โดยจะได

              กลาวถึงสภาพปญหา การวิเคราะห และขอเสนอแนะในรายงานการศึกษาวิจัย บทที่ 4 โดยละเอียดตอไป
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28