Page 22 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 22

รายงานการศึกษาวิจัย  7
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                               -  หามมิใหลงโทษแกผูตองขังในลักษณะที่ทารุณ โหดราย ไรมนุษยธรรม หรือลดความเปน
               มนุษยลง ซึ่งหมายรวมถึง การเฆี่ยนตี การขังในหองมืด เปนตน
                               -  กอนที่จะลงโทษตอรางกายของผูตองขัง ตองปรึกษาแพทยกอนวาการลงโทษดังกลาว

               จะมีผลกระทบที่เปนอันตรายตอสุขภาพทางกายหรือจิตใจของผูตองขังหรือไม

                           9)   การใชเครื่องพันธนาการ หามใชกุญแจมือ ขื่อ คา และเสื้อทรมานหรือเครื่องพันธนาการอื่น ๆ
               เพื่อการลงโทษ และหามมิใหใชโซหรือตรวนเปนเครื่องมือพันธนาการ เวนแตจะปองกันการหลบหนีในระหวาง
               ยายผูตองขัง เพื่อเหตุผลทางการแพทยหรือโดยคําสั่งของผูบัญชาการเรือนจําเพื่อปองกันการทําลายทรัพยสิน

                           10)  สิทธิในการไดรับแจงและการรองทุกข

                               -  เมื่อแรกรับเขามาในเรือนจํา ผูตองขังมีสิทธิไดรับการแจงในเรื่องระเบียบ ขอบังคับในเรือนจํา
               ในสวนที่เกี่ยวของกับตน โดยพนักงานเจาหนาที่เองหรือโดยการรองขอของตน
                               -  ผูตองขังมีสิทธิรองทุกขตอผูบัญชาการเรือนจําในทองที่นั้น หรือในสวนกลาง หรือตอศาล

               อยางเปนทางการโดยไมตองถูกตรวจสอบในเรื่องราวที่รองทุกข และมีโอกาสที่จะแจงดวยวาจาตอพนักงาน

               สอบสวนในเรื่องนี้โดยปราศจากการควบคุมของเจาหนาที่เรือนจํา
                               -  เวนแตจะปรากฏหลักฐานไมเพียงพอ คํารองทุกขทุกฉบับจะตองไดรับการดําเนินการ
               โดยทันที และไดรับคําตอบโดยไมชักชา

                           11)  การติดตอกับภายนอก

                               -  ผูตองขังไดรับการอนุญาตใหติดตอกับครอบครัวและเพื่อนอยางสมํ่าเสมอ ทั้งทางจดหมาย
               และการเยี่ยมเยียน
                               -  ผูตองขังซึ่งเปนชาวตางประเทศ มีสิทธิติดตอกับเจาหนาที่ของสถานทูตของตน หรือของ

               องคการระหวางประเทศที่มีผลประโยชนเกี่ยวกับตน

                               -  ผูตองขังจะตองไดรับขาวสารเกี่ยวกับเหตุการณประจําวันหรือที่นาสนใจ
                           12)  หนังสือ เรือนจําทุกแหงจะตองมีหองสมุดสําหรับใหผูตองขังไดอาน
                           13)  ศาสนา

                               -  ถาเรือนจําใดมีผูตองขังที่นับถือศาสนาเดียวกันมากพอสมควรจะตองมีการตั้งศาสนาจารย

               นั้น ๆ เปนอนุศาสนาจารย เพื่อใหบริการแกผูตองขัง
                               -  ผูตองขังจะไมถูกบังคับใหเขารวมกิจกรรมทางศาสนา หรือไมปฏิเสธไมใหเขารวมพิธีกรรม
               ทางศาสนา

                               -  ถาสามารถปฏิบัติได ผูตองขังทุกคนจะตองไดอนุญาตดําเนินการในเรื่องเกี่ยวกับศาสนา

               ของตนจนเปนที่พอใจ และสามารถครอบครองหนังสือที่เกี่ยวกับศาสนานั้นได
                           14)  การดูแลทรัพยสินของผูตองขัง
                               -  เงินหรือของมีคาของผูตองขัง ซึ่งไมไดรับการอนุญาตใหเก็บไวเปนสวนตัว จะไดรับ

               การเก็บรักษาในที่ปลอดภัยจนกวาจะไดรับการปลอยตัว

                               -  เงินหรือสิ่งของอื่นที่ผูตองขังไดรับจากบุคคลภายนอกจะไดรับการปฏิบัติเชนเดียวกัน
                               -  แพทยจะเปนผูวินิจฉัยวา ผูตองขังสามารถนํายาประจําตัวเขามาในเรือนจําไดหรือไม
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27