Page 20 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 20
รายงานการศึกษาวิจัย 5
เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว
2. หลักสากลที่รับรองและคุมครองสิทธิในความเปนสวนตัวของผูตองขัง
นอกจากสิทธิในความเปนสวนตัวของบุคคลในฐานะที่เปนสิทธิมนุษยชนจะไดรับการรับรองและคุมครอง
โดยกฎเกณฑระหวางประเทศดังที่ไดกลาวแลวขางตน บุคคลที่อยูในสถานการณพิเศษ เชน ผูตองขังก็ไดรับ
การรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนสวนตัวโดยกฎเกณฑระหวางประเทศเชนกัน โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights : UDHR) ในสวนที่เกี่ยวกับ
สิทธิของผูตองขัง กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Convenant
on Civil an Political Rights : ICCPR) และขอกําหนดมาตรฐานขั้นตํ่าของสหประชาชาติเกี่ยวกับการปฏิบัติ
ตอผูตองขังคดีอาญา (Standard of minimum Rule for the Treatment of Prisoners)
2.1 ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights : UDHR)
ในสวนที่เกี่ยวกับสิทธิของผูตองขัง
ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนไดรับรองสิทธิของผูตองโทษไวใน ขอ 5 วา“บุคคลใดจะถูกทรมาน
หรือไดรับการประติบัติ หรือลงทัณฑดวยความทารุณ โหดราย ไรมนุษยธรรม หรือหยามเกียรติมิได”
2.2 กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Convenant
on Civil an Political Rights : ICCPR) ในสวนที่เกี่ยวกับผูตองขัง 7
ไดรับรองสิทธิของผูตองขังไวในขอ 7 การหามการลงโทษที่โหดรายไรมนุษยธรรม และเพิ่มเติม
หลักประกันสิทธิในการปฏิบัติตอผูตองขังในขอ 10 ดังนี้
1) การรับรองสิทธิของผูตองขัง
บุคคลจะถูกทรมาน หรือไดรับการปฏิบัติ หรือการลงโทษที่โหดรายไรมนุษยธรรมหรือตํ่าชามิได
โดยเฉพาะอยางยิ่ง บุคคลจะถูกใชในการทดลองทางการแพทยหรือทางวิทยาศาสตรโดยปราศจากความยินยอม
อยางเสรีของบุคคลนั้นมิได (ขอ 7)
2) หลักประกันสิทธิในการปฏิบัติตอผูตองขัง
- บุคคลทั้งหลายที่ถูกลิดรอนสิทธิเสรีภาพตองไดรับการปฏิบัติอยางมีมนุษยธรรม และไดรับ
การเคารพศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษย (ขอ 10 (1))
- พึงจําแนกผูตองหาออกจากผูตองโทษในเรือนจําและพึงไดรับการประติบัติที่แตกตางกัน
ตามความเหมาะสมแกสถานะอันมิใชเปนผูตองโทษ (ขอ 10(2) (ก))
- พึงแยกตัวผูตองหาวากระทําผิดที่เปนเยาวชนออกจากผูใหญและใหนําตัวขึ้นพิจารณา
พิพากษาคดีโดยเร็วที่สุดเทาที่จะกระทําได (ขอ 10 (2) (ข))
- ระบบราชทัณฑพึงประกอบดวยการประติบัติตอนักโทษดวยความ มุงหมายสําคัญที่จะทําให
มีการกลับเนื้อกลับตัวและการฟนฟูทางสังคม พึงจําแนกผูกระทําผิดที่เปนเด็กหรือเยาวชนออกจากผูใหญ
และไดรับการประติบัติตามความเหมาะสมแกวัย และสถานะทางกฎหมาย (ขอ 10 (3))
7 http://www.mfa.go.th/humanrights/images/stories/iccprt.pdf (ฉบับแปลและเรียบเรียงโดยกระทรวงการตางประเทศ)