Page 18 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 18

รายงานการศึกษาวิจัย  3
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                  1.3  สิทธิในความเปนสวนตัวเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคล (Personal data)
                           สิทธิในความเปนสวนตัวเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคล (Personal data) ไดรับการรับรองและคุมครอง
               เปนการเฉพาะในระดับระหวางประเทศ ไดแก กฎเกณฑเพื่อการคุมครองขอมูลสวนบุคคลตามแนวทางปฏิบัติ

               ขององคการเพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) และของสหภาพยุโรป ดังนี้

                           1.3.1  Guidelines on the protection of Privacy and Transborder Data Flows
               of Personal Data ขององคการเพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD)
                                 แมปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1948  (The Universal Declaration of Human

               Rights 1948) ไดวางหลักประกันขั้นพื้นฐานในการรับรองสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของบุคคลไวอยางกวาง ๆ

               แลวก็ตาม แตเมื่อเขาสูยุคแหงขอมูลขาวสารซึ่งมีพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่กาวหนาไปอยางรวดเร็ว
               สงผลใหการติดตอสื่อสารและการเผยแพรขอมูลตาง ๆ สามารถเคลื่อนยายและเชื่อมโยงกันไดโดยไมจํากัดเวลา
               และสถานที่อีกตอไป จากความสะดวกรวดเร็วในการติดตอสื่อสารดังกลาว กอใหเกิดปญหาการละเมิดสิทธิ

               ในความเปนอยูสวนตัวเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลของบุคคลอื่นไดโดยงาย จากปญหาดังกลาวองคการเพื่อความ

               รวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) จึงไดมีแนวคิดที่จะวางกรอบเพื่อคุมครองขอมูลสวนบุคคลเพิ่มขึ้น
               จากการคุมครองสิทธิโดยทั่วไป ซึ่งหลักเกณฑการคุมครองขอมูลสวนบุคคล ไดแก Guidelines on the protection
               of Privacy and Transborder Data Flows of Personal Data ขององคการเพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจ

               และการพัฒนา (OECD) ซึ่งมีหลักการที่สําคัญ 8 ประการ ดังนี้

                                 1)  หลักขอจํากัดในการเก็บรวบรวมขอมูล ในการเก็บรวบรวมขอมูลนั้น ตองชอบดวยกฎหมาย
               และตองใชวิธีการที่เปนธรรมและเหมาะสม โดยในการเก็บรวบรวมขอมูลนั้นตองใหเจาของขอมูลรูเห็น รับรู
               หรือไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูล

                                 2)  หลักคุณภาพของขอมูล ขอมูลจะตองถูกตอง สมบูรณ หรือทําใหเปนปจจุบันหรือทันสมัย

               อยูเสมอ
                                 3)  หลักการกําหนดวัตถุประสงคในการจัดเก็บ ตองกําหนดวัตถุประสงควาขอมูลที่มีการ
               เก็บรวบรวมนั้น เก็บรวมรวมไปเพื่ออะไร พรอมทั้งกําหนดระยะเวลาที่เก็บรวบรวมหรือรักษาขอมูลนั้น ตลอดจน

               กรณีที่จําเปนตองมีการเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงคในการเก็บรวบรวมขอมูล เชนวานั้นไวใหชัดเจน

                                 4)  หลักขอจํากัดในการนําไปใช สาระสําคัญ คือ ขอมูลสวนบุคคลนั้น จะตองไมมีการเปดเผย
               ทําใหมีหรือปรากฏในลักษณะอื่นใด ซึ่งไมไดกําหนดไวโดยชัดแจงในวัตถุประสงคของการเก็บรวบรวมขอมูล
               เวนแตจะไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูล หรือโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

                                 5)  หลักการรักษาความมั่นคงปลอดภัยขอมูล สาระสําคัญ คือ จะตองมีมาตรการในการรักษา

               ความมั่นคงปลอดภัยของขอมูลสวนบุคคลที่เหมาะสม เพื่อปองกันความเสี่ยงภัยใด ๆ ที่อาจจะทําใหขอมูลนั้น
               สูญหาย เขาถึง ทําลาย ใช ดัดแปลงแกไข หรือเปดเผยโดยมิชอบ
                                 6)  หลักการเปดเผยขอมูล สาระสําคัญ คือ ควรมีการประกาศนโยบายฯ ใหทราบโดยทั่วกัน

               หากมีการปรับปรุงแกไข หรือพัฒนาแนวนโยบายหรือแนวปฏิบัติที่เกี่ยวกับขอมูล สวนบุคคล ก็ควรเปดเผย

               หรือประกาศไวใหชัดเจน รวมทั้งใหขอมูลใด ๆ ที่สามารถระบุเกี่ยวกับหนวยงานของรัฐผูใหบริการ ที่อยู ผูควบคุม
               ขอมูลสวนบุคคลดวย
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23