Page 17 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 17

2    รายงานการศึกษาวิจัย
                 เรื่อง  ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                         สิทธิในความเปนสวนตัวของบุคคลไดรับการรับรองและคุมครองในฐานะเปนสิทธิมนุษยชนประการหนึ่ง
                                                                    2
              เปนครั้งแรกในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1948  โดยรับรองและคุมครองไวในขอ 12 ความวา
              “บุคคลใดจะถูกแทรกแซงตามอําเภอใจในความเปนสวนตัว ครอบครัว ที่อยูอาศัย หรือการสื่อสาร หรือจะถูกลบหลู

              เกียรติยศและชื่อเสียงมิได ทุกคนมีสิทธิที่จะไดรับความคุมครองของกฎหมายตอการแทรกแซงสิทธิหรือการลบหลู

              ดังกลาวนั้น” 3
                 1.2  อนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน (European
              Convention for the Protection of Human Rights and Fundamental Freedoms)
                                                                                             4
                         อนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานเปนขอตกลงที่

              คณะกรรมาธิการแหงยุโรปไดจัดทําขึ้นเพื่อใชบังคับในระหวางประเทศตาง ๆ ในสหภาพยุโรป โดยรับแนวความคิด
              มาจากปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1948 ดังที่ไดกลาวแลวขางตน อนุสัญญาแหงยุโรปฉบับนี้
              มีเจตนารมณเพื่อคุมครองและพัฒนาสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานในระหวางประเทศภาคีสมาชิก

              โดยกําหนดหลักการเบื้องตนที่มุงหมายเพื่อสรางหลักประกันสิทธิบางประการที่กําหนดไวในปฏิญญาสากล

              วาดวยสิทธิมนุษยชนเปนการเฉพาะ
                         อนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ก็ไดรับรองและ
              คุมครองสิทธิในความเปนสวนตัวของบุคคลไวโดยชัดแจงในขอ 8 ของอนุสัญญา ความวา

                         “1.  บุคคลทุกคนมีสิทธิไดรับการเคารพในชีวิตสวนตัวและครอบครัว ที่อยูอาศัยและการสื่อสาร

                         2.   การแทรกแซงการใชสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคล โดยองคกรของรัฐจะกระทําไดก็เฉพาะแตเมื่อ
              มีกฎหมายบัญญัติใหกระทําได และการแทรกแซงดังกลาวเปนมาตรการที่จําเปนในสังคมประชาธิปไตยตอ
              ความปลอดภัยแหงชาติ ความมั่นคงของรัฐ ประโยชนทางเศรษฐกิจของประเทศ การรักษาความสงบเรียบรอย

              และการปองกันการกระทําความผิดทางอาญา การคุมครองสุขภาพหรือจิตใจ หรือการคุมครองสิทธิและเสรีภาพ

              ของบุคคลอื่น” 5



              2   ฉบับแปลและเรียบเรียงโดย คณะอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ องคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรม
                แหงสหประชาชาติ (UNESCO) และฉบับแปลและเรียบเรียงโดยกรมองคการระหวางประเทศ กระทรวงการตางประเทศ
               (กรกฎาคม 2551)
              3  Article 12
                No one shall be subjected to arbitrary interference with his privacy family, home or correspondence,
                nor to attacks upon his honour and reputation, Everyone has the right to the protection of the law
                against such interference or attacks.
              4  http://conventions.coe.int
                อนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ลงนามเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 1950 และมีผล
                ใชบังคับเมื่อวันที่ 3 กันยายน 1953
              5   Article 8 - Right to respect for private and family life
                1. Everyone has the right to respect for his private and family life, his home and his correspondence.
                2. There shall be no interference by a public authority with the exercise of this right except such as is
                in accordance with the law and is necessary in a democratic society in the interests of national security,
                public safety or the economic well-being of the country, for the prevention of disorder or crime,
                for the protection of health or morals, or for the protection of the rights and freedoms of others.
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22