Page 108 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 108

รายงานการศึกษาวิจัย  93
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                              4)   สรุป
                                  การที่เรือนจําหรือสถานกักกันมีความเปนอยูที่แออัด ขาดสุขลักษณะที่ดี เปนการกระทบ
               สิทธิในความเปนอยูสวนตัวของผูตองขังหรือผูถูกกักกัน อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผูตองขังหรือ

               ผูถูกกักกัน

                        4.2.9   กรณีการตรวจดูหรือเปดอานจดหมายของผูตองขังในเรือนจํา
                             1)   ขอเท็จจริง
                                    การตรวจดูหรือเปดอานจดหมายที่ญาติหรือเพื่อนของผูตองขังสงไปยังผูตองขังที่ถูกคุมขัง

               อยูในเรือนจํา หรือจดหมายที่ผูตองขังเขียนถึงญาติหรือเพื่อนและสงออกไปจากเรือนจํา จะกระทําไดหรือไมเพียงใด

               นอกจากนี้ ยังมีประเด็นเกี่ยวเนื่องที่ตองพิจารณาวาการประทับตราบนซองจดหมายของผูตองขัง ที่แสดงใหเห็น
               อยางชัดเจนวาจดหมายฉบับนั้นเปนของผูตองขังที่สงออกมาจากเรือนจํา ถือเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของ
               ผูตองขังหรือไม

                              2)   ประเด็นปญหาทางกฎหมาย

                                  ประเด็นที่หนึ่ง การตรวจดูหรือเปดอานจดหมายของผูตองขังในเรือนจํามีลักษณะเปน
               สิทธิของบุคคลอันเกี่ยวดวยสิทธิในความเปนอยูสวนตัวหรือไม
                                  ประเด็นที่สอง การที่เจาหนาที่เรือนจําตรวจดูหรือเปดอานจดหมายของผูตองขังเปน

               การแทรกแซงสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของผูตองขัง อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผูตองขังหรือไม

                                  ประเด็นที่สาม การดําเนินการดังกลาวเปนการดําเนินการตามอํานาจหนาที่ตามกฎหมาย
               โดยองคกรของรัฐเพื่อประโยชนสาธารณะ เปนสิ่งจําเปนเพื่อวัตถุประสงคดังกลาว และไดสัดสวนกับวัตถุประสงค
               นั้นหรือไม

                              3)   แนวทางการพิจารณา

                                  ประเด็นที่หนึ่ง การตรวจดูหรือเปดอานจดหมายของผูตองขังในเรือนจํามีลักษณะเปน
               สิทธิของบุคคลอันเกี่ยวดวยสิทธิในความเปนอยูสวนตัวหรือไม
                                  จดหมายหรือการติดตอสื่อสารในรูปแบบอื่นใดยอมเปนสิทธิเสรีภาพสวนบุคคล จดหมาย

               จึงเปนสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานแหงศักดิ์ศรีความเปนมนุษยที่บุคคลยอมมีสิทธิที่จะเปดอานดวยตนเอง และหามมิให

               บุคคลอื่นใดตรวจดูหรือเปดอาน ไมเวนแมแตผูตองขังในเรือนจํา สิทธิในการตรวจดูหรือเปดอานจดหมายของผูตองขัง
               ในเรือนจํายอมเปนสิทธิขั้นพื้นฐานแหงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย อันเกี่ยวดวยสิทธิในความเปนอยูสวนตัวเกี่ยวกับ
               สิทธิในจดหมายและการติดตอสื่อสาร โดยนัยดังกลาว ผูตองขังยอมตองไดรับความคุมครองตามขอ 12 แหง

               ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และขอ 8 วรรคหนึ่ง ของอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชน

               และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ตลอดจนตามมาตรฐานขั้นตํ่าของสหประชาชาติเกี่ยวกับการปฏิบัติตอผูตองขังอีกดวย
                                โดยนัยดังกลาว สิทธิในการตรวจดูหรือเปดอานจดหมายยอมเปนสิทธิในความเปนอยูสวนตัว
               ซึ่งไดรับความคุมครองตามบทบัญญัติมาตรา 4 และมาตรา 35 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช

               2550 ในอันที่บุคคลใดจะลวงละเมิดโดยมิชอบดวยกฎหมายมิได โดยนัยดังกลาว สิทธิในความเปนอยูสวนตัว

               ยอมตกอยูในความหมายของคําวา “สิทธิมนุษยชน” ตามนัยที่ไดบัญญัติไวในมาตรา 3 แหงพระราชบัญญัติ
               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113