Page 105 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 105
90 รายงานการศึกษาวิจัย
เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว
กฎหมายของสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี
ประมวลกฎหมายแพงของสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนีไดกําหนดหลักการคุมครอง “สิทธิอื่น ๆ
(Other right)” ไวในมาตรา 823(1) เกี่ยวกับในการรับรองสิทธิและความคุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษยและ
สิทธิในการพัฒนาบุคลิกภาพหรือความมีตัวตนของบุคคลในรูปภาพและสิทธิในการใชนามของบุคคล รวมถึง
สิทธิในขอมูลสวนบุคคล (Personal Data) และขอมูลเกี่ยวกับบุคคลทั่วไปบนพื้นฐานของมาตรา 826 แหงประมวล
กฎหมายแพง โดยกําหนดวา บุคคลใดจงใจทําใหคนอื่นไดรับความเสียหายในการละเมิดศีลธรรมอันดีตองชดใช
คาเสียหายจากการกระทําดังกลาว นอกจากนั้น หากเปนการกระทําที่มีลักษณะเปนการหาประโยชนเชิงพาณิชย
จากสิทธิเกี่ยวกับบุคคล (appropriation of personality) เชน การนําภาพของบุคคลไปใชประกอบการโฆษณา
(แมโฆษณานั้นจะไมเสื่อมเสีย แตเปนโฆษณาที่ไมไดรับอนุญาตจากบุคคลอยูที่อยูในภาพ ก็ถือเปนการละเมิด
สิทธิเกี่ยวกับบุคคลเชนกัน
กฎหมายของสหรัฐอเมริกา
การใชชื่อหรือภาพของบุคคลเพื่อผลประโยชนโดยไมไดรับความยินยอม (appropriation)
ถือเปนกระทําที่เปนการละเมิดสิทธิในความเปนสวนตัวตามของสหรัฐอเมริกา เชน คดีระหวาง Rochester และ
Roberson ศาลมลรัฐนิวยอรก ไดตัดสินใหจําเลยชดใชคาเสียหายใหกับโจทก ดวยเหตุที่โจทกนั้นถูกละเมิดดวยการ
ถูกนําภาพไปใชเพื่อประโยชนในการโฆษณาสินคาของจําเลย หรือเพื่อวัตถุประสงคอื่นใดในทางที่เปนการสงเสริม
การขายของจําเลยโดยไมไดรับอนุญาตจากโจทกผูเปนเจาของภาพดังกลาว หรือกรณีที่ผูหญิงถูกบันทึกภาพขณะที่
กระโปรงของเธอถูกลมพัดเปดขึ้นกรณีนี้โจทกมีสิทธิรองทุกขตอศาลได (คดี Daily Times Democrat v. Grahan
1964) หรือกรณีการนํารูปภาพของคนขับรถแท็กซี่ทั่วไปไปใชในการประกอบเรื่องเกี่ยวกับคนขับรถแท็กซี่ที่ขี้โกง
ในเมือง หรือการรวมเอาชื่อของโจทก รูปภาพและลายมือของโจทกเอาไวในหองภาพคนรายในพิพิธภัณฑที่ถูกตัดสิน
วากระทําความผิดอาญา ทั้งที่ไมมีขอเท็จจริงวาโจทกเคยถูกตัดสินวากระทําความผิดอาญา เปนตน ซึ่งการกระทํา
92
ละเมิดในฐานนี้ไมจําเปนตองผิดในฐานหมิ่นประมาทควบคูเสมอไป
สําหรับแนวทางในการพิจารณาวาเปนการละเมิดสิทธิสวนบุคคลหรือไมนั้น สหรัฐอเมริกาได
93
กําหนดไวใน Restatement of Torts §§ 652 A - I ซึ่งมีหลักเกณฑในการพิจารณา ดังนี้
(1) การใชชื่อหรือรูปถายของบุคคลอื่นเพื่อประโยชนทางการคาของตน (Appropriation)
ไดแก
- การแตงตัวหรือทําบุคลิกใหเหมือนบุคคลนั้น (Look-alikes)
- การเลียนแบบเสียงใหเหมือนบุคคลนั้น (Sound-alikes) ยกเวนเปนกรณีที่เพื่อใหขอมูล
และเสนอขาว
(2) การรุกลํ้าทางรางกายของบุคคลอื่นในการที่ผูนั้นประสงคจะอยูตามลําพัง (Intrusion)
เชน การดักฟงพูดโทรศัพท การใชกลองเลนสซูมระยะไกลเพื่อถายภาพ การแอบซอนไมโครโฟนเพื่ออัดเทป
การสนทนา ฯลฯ
92 ศศิภา เรืองฤทธิ์ชาญกุล, มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการเผยแพรขาวผูเสียหายในความผิดเกี่ยวกับเพศ, วิทยานิพนธ
นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2553
93 บุญสิทธิ์ บุญโพธิ์., สื่อมวลชนกับการละเมิดสิทธิสวนบุคคล, วารสารนักบริหาร ปที่ 30 ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มี.ค. 2553) หนา 86-88