Page 110 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 110

รายงานการศึกษาวิจัย  95
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





               ความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน อันเปนขอยกเวนตามมาตรา 36 แหงรัฐธรรมนูญ
               แหงราชอาณาจักรไทย แตมีประเด็นเกี่ยวเนื่องที่จําเปนตองไดรับการพิจารณาตอไปวาการทําเครื่องหมาย
               บนซองจดหมายเพื่อแสดงใหรูวาจดหมายฉบับนั้น ๆ ไดสงออกมาจากเรือนจําและผานการตรวจของเจาหนาที่แลว

               จะเปนการกระทบตอสิทธิของผูตองขังหรือไม

                                  กรณีเกี่ยวกับการประทับตราบนซองจดหมายของผูตองขังนั้น กรมราชทัณฑไดรับคํารอง
               จากญาติผูตองขัง และไดพิจารณาขอรองเรียนและมีหนังสือ ดวนมาก ที่ ยธ 0711.1/19166 ลงวันที่ 6 มิถุนายน
               2555 วินิจฉัยวา การตรวจสอบจดหมายของผูตองขังที่สงออกจากเรือนจําหรือทัณฑสถาน สถานกักกันและ

               สถานกักขัง มีวัตถุประสงคเพื่อปองกันการนัดแนะ การวางแผนกอความวุนวาย การกอเหตุราย การแหกหักหลบหนี

               การลักลอบนําสิ่งของตองหามเขาเรือนจํา ทัณฑสถาน สถานกักกันและสถานกักขัง ซึ่งเปนการปฏิบัติในการรักษา
               ความมั่นคงของรัฐหรือเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนเปนสําคัญ ดังนั้น เพื่อเปน
               การปองกันการกระทําละเมิดตอผูตองขัง เจาของจดหมาย หรือบุคคลอื่นที่อาจไดรับความเสียหาย จึงใหเรือนจํา

               หรือทัณฑสถานดําเนินการ ดังนี้

                                  1. การตรวจสอบจดหมายหรือเอกสารอื่นใดของผูตองขังโดยใหตรวจสอบขอความ
               ใหละเอียดและใหลงนามผูตรวจสอบในเอกสารหรือกระดาษจดหมายของผูตองขังที่ไดทําการตรวจสอบแลวแตกรณี
               กอนที่จะสงออกนอกเรือนจํา ทัณฑสถาน สถานกักกันหรือสถานกักขัง

                                  2. กรณีจดหมายของผูตองขังที่สงออกไปนั้น หามมิใหทําการประทับตราขอความโฆษณา

               ประชาสัมพันธกิจการใด ๆ บนซองจดหมายของผูตองขัง ทั้งนี้ เพื่อเปนการปองกันการละเมิดตอบทบัญญัติ
               ของกฎหมายตอไป
                                  ดังนั้น จะเห็นไดวา แมวาการตรวจสอบจดหมายของผูตองขังสามารถกระทําได เนื่องจาก

               มีความจําเปนที่จะตองกระทําเพื่อปองกันการนัดแนะ การวางแผนกอความวุนวาย การกอเหตุราย การแหกหัก

               หลบหนี การลักลอบนําสิ่งของตองหามเขาเรือนจํา ทัณฑสถาน สถานกักกันและสถานกักขัง ซึ่งเปนการปฏิบัติ
               ในการรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนเปนสําคัญ
               แตกรมราชทัณฑก็ไดมีการคํานึงถึงสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของผูตองขังอยางเหมาะสม โดยหามมิใหทําการ

               ประทับตราขอความเพื่อแสดงใหเห็นวาจดหมายฉบับนั้นถูกสงมาจากผูตองขังในเรือนจํา

                                  นอกจากนั้น จากการตรวจสอบเพิ่มเติมจากเว็บไซตของเรือนจําพิเศษกรุงเทพมหานคร
               พบวา นอกจากสิทธิที่จะรับ-สงจดหมายแลว ปจจุบันกรมราชทัณฑไดมีนโยบายใหผูตองขังสามารถรับ-สง E-mail
               กับญาติ โดยการรับอีเมลของผูตองขัง เจาหนาที่จะปริ้นตมาจากอีเมล แลวนําสงใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของตรวจสอบ

               ขอความวามีความเหมาะสมหรือไม ถาหากมีขอความที่ไมเหมาะสมก็จะไมสงใหผูตองขัง แตถาเหมาะสม

               ก็จะสงใหแกผูตองขังตามระเบียบที่กรมราชทัณฑกําหนดไว  ซึ่งถือวาพัฒนาการที่ดีในการคุมครองสิทธิความเปน
                                                                95
               สวนตัวของผูตองขัง







               95  http://bangkokremand.thport.com/pages/khaosaraelakichkam.php
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115