Page 104 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 104
รายงานการศึกษาวิจัย 89
เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว
วรรคหนึ่ง ของอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน การถายภาพบุคคลใด
จะกระทําไดจะตองไดรับความยินยอมจากบุคคลนั้นโดยชัดแจงเสียกอน
โดยนัยดังกลาว การถายภาพบุคคลยอมอยูในขอบเขตแหงสิทธิในความเปนอยูสวนตัว
ซึ่งไดรับความคุมครองตามบทบัญญัติมาตรา 4 และมาตรา 35 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 ในอันที่บุคคลใดจะลวงละเมิดโดยมิชอบดวยกฎหมายมิได โดยนัยดังกลาว สิทธิในความเปนอยู
สวนตัว ยอมตกอยูในความหมายของคําวา “สิทธิมนุษยชน” ตามนัยที่ไดบัญญัติไวในมาตรา 3 แหงพระราชบัญญัติ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542
ประเด็นที่สอง การที่สื่อมวลชนถายภาพผูเสียหายในคดีลวงละเมิดทางเพศแลวนําไป
ตีพิมพในสื่อสิ่งพิมพ หรือการที่บุคคลติดตามถายภาพบุคคลอื่นในลักษณะคุกคามโดยบุคคลผูถูกถายภาพนั้นไมได
ใหความยินยอม เปนการแทรกแซงสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของผูถูกถายภาพนั้น อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ของบุคคลนั้นหรือไม
เมื่อการถายภาพบุคคลเปนสิทธิของบุคคลอันเกี่ยวดวยสิทธิในความเปนอยูสวนตัว
ของบุคคลเกี่ยวกับเนื้อตัวรางกาย ในลักษณะที่เกี่ยวดวยศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ดังที่ไดกลาวแลวขางตน
สิทธิของบุคคลดังกลาวยอมจะตองไดรับการเคารพจากบุคคลอื่นใดในอันที่จะตองไมถายหรือบันทึกภาพของบุคคลอื่น
โดยที่บุคคลนั้นมิไดใหความยินยอมโดยชัดแจง หรือในลักษณะเปนการคุกคามสิทธิในความเปนอยูสวนตัว
ของบุคคลนั้น โดยนัยดังกลาว การที่สื่อมวลชนถายภาพผูเสียหายในคดีลวงละเมิดทางเพศแลวนําไปตีพิมพ
ในสื่อสิ่งพิมพ หรือการที่บุคคลติดตามถายภาพบุคคลอื่นในลักษณะคุกคามโดยบุคคลผูถูกถายภาพนั้นไมได
ใหความยินยอม เปนการแทรกแซงสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของผูถูกถายภาพนั้นโดยมิชอบดวยกฎหมาย
และเปนการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของบุคคลนั้น
แมวามาตรา 45 วรรคสี่ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
ไดกําหนดบทบัญญัติคุมครองการทําหนาที่ของสื่อมวลชนไววา “การหามหนังสือพิมพหรือสื่อมวลชนอื่น
เสนอขาวสาร หรือแสดงความคิดเห็นทั้งหมดหรือบางสวน หรือการแทรกแซงดวยวิธีการใด ๆ เพื่อลิดรอนเสรีภาพ
ตามมาตรานี้ จะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายซึ่งไดตราขึ้นตามวรรคสอง”
และมาตรา 45 วรรคสอง บัญญัติวา “การจํากัดสิทธิเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจ
ตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ เพื่อคุมครองสิทธิ เสรีภาพ เกียรติยศ ชื่อเสียง
สิทธิในครอบครัวหรือความเปนอยูสวนตัวของบุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชน หรือเพื่อปองกันหรือระงับความเสื่อมทรามทางจิตใจหรือสุขภาพของประชาชน” อยางไรก็ตาม
เมื่อพิจารณาบทบัญญัติดังกลาวแลว จะเห็นไดอยางชัดแจงวา เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคล
และสื่อมวลชนเปนเสรีภาพที่อยูภายใตเงื่อนไขแหงการคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของบุคคล
ซึ่งเปนสิทธิอันเกี่ยวดวยศักดิ์ศรีความเปนมนุษยที่จะตองไดรับความคุมครองตามมาตรา 4 ของรัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยไมตกอยูภายใตเงื่อนไขอื่นแตอยางใด
สําหรับหลักเกณฑของกฎหมายตางประเทศที่เกี่ยวกับกรณีการถายภาพของผูอื่นโดยผูที่
ถูกถายภาพนั้นไมไดใหความยินยอมและนําไปพิมพเผยแพรนั้น คณะผูวิจัยขอยกกฎหมายของสหพันธสาธารณรัฐ
เยอรมนี และกฎหมายของสหรัฐอเมริกามาประกอบการพิจารณา ดังนี้