Page 123 - คู่มือการทำความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
P. 123
คู่มือ การทำาความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง 121
สาธารณะ การหาเสียง การอภิปรายเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
งานด้านหนังสือพิมพ์ การแสดงออกด้านศิลปวัฒนธรรม
การสอนและวาทกรรมทางศาสนา นอกจากนี้ยังรวมถึง
สื่อโฆษณาเชิงพาณิชย์อีกด้วย
สิทธิในเสรีภาพในการพูดและแสดงออก หมายรวมถึงรูปแบบ
และวิธีการในการเผยแพร่ความคิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการพูด
การเขียนและการใช้ภาษามือในการสื่อสาร อวัจนะภาษา เช่น
รูปภาพหรือศิลปวัตถุ วิธีการในการแสดงออก รวมถึง หนังสือ
หนังสือพิมพ์ แผ่นพับ แผ่นภาพ ป้าย การต่างกาย
สื่ออินเทอร์เน็ต และสื่อด้านกฎหมาย
ในการสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ เสรีภาพในการเผยแพร่ข่าวสารและความคิดเห็นจะเกิดขึ้นได้
เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ก็ต่อเมื่อหนังสือพิมพ์และสื่อต่างๆ สามารถวิพากษ์วิจารณ์
และการแสดงออกนั้น จำาเป็นต้อง ประเด็นสาธารณะได้โดยปราศจากการถูกครอบงำาหรือ
มีสื่อที่เป็นอิสระและไม่ถูกครอบงำา ข้อกำาหนดใดๆ ในการให้บริการข่าวสารสู่ประชาชน และเป็นไป
อย่างอิสระและควรให้เสรีภาพแก่การสื่อสารรูปแบบใหม่ๆ
เช่น อินเทอร์เน็ต หรือทางโทรศัพท์มือถือ
เสรีภาพในการแสดงความคิด เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการแสดงออก ยังรวมถึง
เห็น การแสดงออก และการเข้าถึง สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารขององค์กรภาครัฐอีกด้วย
ข้อมูลข่าวสาร โดยข้อมูลดังกล่าวได้แก่การบันทึกภาพ หรือเสียไม่ว่าจะอยู่ใน
รูปแบบใดๆ หรือมาจากแหล่งข้อมูลใดๆก็ตาม
เสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร เสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารยังมีความสัมพันธ์กับ
จะเกี่ยวข้องกับสิทธิในการมีส่วน สิทธิพลเมืองในการมีส่วนร่วมในกิจการสาธารณะต่างๆ หรือ
ร่วม การสร้างนโยบายสาธารณะ และการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
เสรีภาพในการแสดงออกนั้น เกิดขึ้นมาพร้อมกับความ
รับผิดชอบและหน้าที่พิเศษโดยเฉพาะ การใช้สิทธิดังกล่าว
ต้องไม่สร้างความเสียหายแก่สิทธิ หรือชื่อเสียงของบุคคลอื่น
ความมั่นคงของชาติ ความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง หรือ
ศีลธรรมในสังคม
อย่างไรก็ตาม ข้อจำากัดของเสรีภาพในการแสดงออกนั้น ไม่ควร
กระทบกับเสรีภาพ แต่เป็นไปเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่ชอบด้วย
วิถีทางแห่งสังคมประชาธิปไตย ข้อจำากัดดังกล่าวนั้นต้องเป็นไป
ตามหลักการแห่งสัดส่วนที่เหมาะสม การพิจารณาว่าข้อจำากัด
แห่งเสรีภาพที่กำาหนดตามกฎหมายนั้นเป็นที่ยอมรับได้หรือไม่
จะต้องพิจารณาตามหลักเกณฑ์ที่กำาหนดโดยคณะมนตรี
สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ