Page 122 - คู่มือการทำความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
P. 122
120 คู่มือ การทำาความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
๑. ๗. สิทธิในเสรีภ�พในก�รแสดงคว�มคิดเห็นและก�รแสดงออก
คณะกรรม�ธิก�รระหว่�งรัฐบ�ลอ�เซียนว่�ด้วยสิทธิมนุษยชน
(Right to Freedom of Opinion and Expression)
(ASEAN Inter-Governmental Commission on Human Rights -AICHR)
ทุกคนมีสิทธิที่จะแสดงความคิดเห็นของตนเองโดยปราศจากการแทรกแซง
เสรีภาพนี้หมายรวมถึง สิทธิในการแสดงออกถึงความคิดเห็นของตนเองอย่างอิสระและ
แสวงหา ได้รับหรือแจ้งข้อมูลสารสนเทศและความคิดทุกๆ ประเภท ผ่านสื่อสารมวลชนแขนงใดๆ ก็ได้
ตามที่ตนเลือกเอง
การละเมิดสิทธิ ปรากฏขึ้นเมื่อมีการจำากัดเสรีภาพ และการจำากัดเช่นว่านั้น
v ไม่มีกฎหมายบัญญัติรับรองไว้ และ
v ไม่สามารถหาเหตุผลสนับสนุนได้ว่าจำาเป็นที่จะต้องกระทำาเพื่อคุ้มครอง
b สิทธิและชื่อเสียงของผู้อื่น หรือ
b เพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของชาติ และการคุ้มครองประชาชนในด้าน
ความปลอดภัย การสาธารณสุขการรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี
เสรีภาพในความคิดเห็นและการแสดงออกมีความเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เสรีภาพในการ
แสดงออกเป็นเหมือนพาหนะในการแลกเปลี่ยนและพัฒนาความคิดเห็น และยังเป็นฐานสำาคัญของ
การได้รับสิทธิมนุษยชนข้ออื่นๆ อีกมากมาย ตัวอย่างเช่น เสรีภาพในการแสดงออกเป็นส่วนประกอบ
สำาคัญในการได้รับสิทธิที่จะมีเสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม และเสรีภาพในการมีส่วนร่วมใน
กิจการสาธารณะ
พันธกรณีของรัฐ
บุคคลมีสิทธิในการแสดงความคิด ทบทวนจะไม่มีการกำาหนดข้อกำาหนดใดๆ สำาหรับสิทธิในการ
เห็นโดยปราศจากการแทรกแซง แสดงความคิดเห็น ความคิดเห็นปกป้องการแสดงความคิดเห็น
…ทำาให้แน่ใจว่าผู้ถูกคุมขังจะได้พบ ในเรื่อง การเมือง วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ จริยธรรม หรือ
ทนายอย่างสม่ำาเสมอ ศาสนา จะได้รับความคุ้มครองจากการคุกคาม การข่มขู่ หรือ
การประณาม ตีตราบุคคล ทั้งการจับกุม คุมขังหน่วงเหนี่ยว
หรือนำาตัวพิจารณาคดีเนื่องจากข้อหาว่าด้วยการแสดงความ
คิดเห็น ถือเป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพ
เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น สิทธิในเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น รวมถึงการสื่อสาร
รวมถึง สิทธิในการค้นหา ได้รับ และรับการสื่อสารในรูปแบบต่างๆ เช่น ความคิดและทัศนคติ
และแยกแยะข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ซึ่งประกอบด้วย วาทกรรมทางการเมือง การวิพากษ์กิจการ