Page 52 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 52
๓.๓.๙) มอลตา เนเธอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร
จัดตั้งกลไกป้องกันระดับชาติมากกว่าหนึ่งแห่ง โดยมอลตาได้แต่งตั้ง
คณะกรรมการ ๒ คณะ คือ คณะกรรมการตรวจเยี่ยมเรือนจำาและ
คณะกรรมการตรวจเยี่ยมสถานคุมขัง เนเธอร์แลนด์มอบหมายองค์กร
๖ แห่ง ทำาหน้าที่เป็นกลไกดังกล่าว รับผิดชอบประสานงานการตรวจเยี่ยม
และกำาหนดมาตรการแทรกแซง สหราชอาณาจักรได้มอบหมายให้องค์กร
๑๘ แห่ง ทำาหน้าที่กลไกป้องกันระดับชาติ
๓.๔) ประเทศนิวซีแลนด์ กำาหนดเป็นกฎหมายเฉพาะ ได้แก่
พระราชบัญญัติอาชญากรรมจากการทรมาน พ.ศ.๒๕๓๒ แบ่งเป็น ๓ ส่วน
คือ ส่วนที่ ๑ เป็นนิยามศัพท์ ส่วนที่ ๒ เป็นเรื่องการฟ้องคดีในความผิด
ฐานทรมาน และส่วนที่ ๓ ว่าด้วยการป้องกันการกระทำาทรมาน ซึ่งส่วน
หลังนี้มีเจตนารมณ์เพื่อให้สอดคล้องตามพิธีสารเลือกรับฯ โดยกำาหนด
ให้ ๕ หน่วยงานในประเทศทำาหน้าที่เป็นกลไกการป้องกันระดับชาติ
(National Preventive Mechanism: NPM) ทำาหน้าที่ตรวจเยี่ยมสถาน
คุมขังและจัดทำารายงานการตรวจเยี่ยมในเชิงปรับปรุงสภาพการคุมขัง
การปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง และการป้องกันการทรมาน เสนอต่อรัฐบาลและ
๓๖
รัฐสภา
๓.๕) ประเทศมัลดีฟส์ (เข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของ
อนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๙) ได้มีการดำาเนินการ ดังนี้
๓.๕.๑) ได้แก้ไขรัฐธรรมนูญของประเทศ โดยเพิ่มเติม
บทที่ ๒ กำาหนดให้ห้ามการกระทำาดังต่อไปนี้ตามอำาเภอใจ ได้แก่ การคุมขัง
๓๖ Crimes of Torture Act ๑๙๘๙, No. 16, 26, 27, 31 และ 32
50 การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม
หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย