Page 203 - รายงานการศึกษาเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย
P. 203

แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มีการพัฒนาเพื่อคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชน
                  ชาวไทยมากขึ้น  รวมทั้งการคุ้มครองสิทธิของผู้กระทำาผิดที่จะไม่ต้องได้รับโทษที่มีความโหดร้าย

                  ทารุณ เพื่อความเจริญที่เทียบเท่าอารยะประเทศ หากแต่ประเทศไทยได้มีการกำาหนดการบังคับใช้

                  โทษประหารชีวิตในกฎหมายฉบับอื่นที่เกี่ยวข้อง  จึงมีความขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นกฎหมาย
                  สูงสุดของประเทศ  ดังนั้น  แนวทางในอนาคตที่เหมาะสมของประเทศไทยในอนาคต  อาจต้อง
                  มีการปรับเปลี่ยนกฎหมายที่เกี่ยวข้องทุกฉบับให้มีการยกเลิกโทษประหารชีวิตในความผิด

                  ทุกประเภทให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญที่กำาหนดไว้



                           ๕.๒.๓ ข้อเสนอแนะต่อหน่วยง�นที่เกี่ยวข้อง
                                  การขับเคลื่อนในการนำาไปสู่การยกเลิกโทษประหารชีวิตเกี่ยวข้องกับองค์กร

                  หลายฝ่ายทั้งภาครัฐและภาคองค์กรพัฒนาเอกชน อย่างไรก็ตาม องค์กรที่มีบทบาทมากที่สุดในการ

                  ขับเคลื่อนการยกเลิกโทษประหารชีวิตในประเทศไทย  คือ  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                  และกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ  กระทรวงยุติธรรม  โดยการร่วมมือขององค์กรพัฒนาเอกชน
                  เช่น  เครือข่ายนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน  และองค์การนิรโทษกรรมสากล  ประเทศไทย  เป็นต้น

                  ดังนั้น ข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงมีดังนี้
                                   ๑)  หน่วยง�นที่เกี่ยวข้องกับก�รยกเลิกโทษประห�รชีวิตต้องผนึกกำ�ลัง

                  ในก�รรณรงค์ให้มีก�รยกเลิกโทษประห�รชีวิตอย่�งต่อเนื่อง สร้�งสรรค์และเป็นระบบ
                                      โดยมีการนำาเสนอข้อมูล  การวิจัย  กรณีตัวอย่างโดยผ่านสื่อหลากหลาย

                  รูปแบบ  ทั้งนี้  เพื่อมุ่งปรับเปลี่ยนทัศนคติของประชาชนทั่วไปตลอดจนกลุ่มคนในวิชาชีพต่าง  ๆ

                  ให้หันมาสนับสนุน หรือไม่คัดค้านการยกเลิกการใช้โทษประหารชีวิต


                                   ๒) ก�รรณรงค์ ก�รเข้�พบเพื่อชี้แจงจุดยืน ขอรับก�รสนับสนุน ทำ�คว�มเข้�ใจ

                  ต่อหน่วยง�นทั้งส�มหน่วย คือ ก�รเมือง รัฐสภ� และรัฐบ�ล

                                      โดยเหตุที่การยกเลิกโทษประหารชีวิตจะขึ้นอยู่กับฝ่ายการเมือง  รัฐสภา
                  และรัฐบาลเป็นสำาคัญ โดยมีปัจจัย คือ แรงกดดันจากต่างประเทศ และจากฝ่ายต่าง ๆ ภายใน
                  ประเทศ  ดังนั้น  การรณรงค์  การเข้าพบเพื่อชี้แจงจุดยืน  ขอรับการสนับสนุน  ทำาความเข้าใจ

                  ต่อหน่วยงานทั้งสามหน่วยดังกล่าว  จึงเป็นสิ่งจำาเป็นในการที่ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง  ทั้งนี้

                  จะต้องกระทำาไปพร้อม ๆ กับการรณรงค์ต่อสาธารณชน ซึ่งจะเป็นฝ่ายสนับสนุน หรือไม่คัดค้าน
                  การยกเลิกโทษประหารชีวิต หากรัฐบาลและสนับสนุนออกกฎหมายยกเลิกโทษประหารชีวิต
















       190     คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208