Page 90 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 90

89


                                                                                                   รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
                                                                       การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน


                            จากการสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง สามารถสรุปได้ ดังนี้

                            หนึ่ง    วิธีการกำาหนดสาระแห่งสิทธิเป็นห้าด้านและแบ่งประเภทตัวชี้วัดเป็นสามประเภท

                                     มีความเหมาะสมแล้ว


                            สอง      ควรมีการปรับตัวชี้วัดให้สะท้อนมิติของสิทธิด้านต่างๆให้ครอบคลุม และควรพัฒนา
                                     ตัวชี้วัดผลลัพธ์ให้สะท้อนถึงผลลัพธ์  ตัวชี้วัดกระบวนการควรเพิ่มการนำาแผน
                                     และนโยบายไปใช้ และควรให้มีตัวชี้วัดที่เน้นคุณภาพของการนำาไปใช้


                            สาม      ควรพิจารณาเรื่องข้อมูลเชิงคุณภาพในการกำาหนดตัวชี้วัดประกอบด้วย


                            สี่      ควรจัดลำาดับความสำาคัญของตัวชี้วัด (เช่น สอง หรือสามลำาดับ)


                            ห้า      ผู้ให้สัมภาษณ์มีความห่วงกังวลถึงข้อมูลที่จะใช้ในการประเมินตามตัวชี้วัดว่า
                                     อาจไม่มีการจัดเก็บหรือไม่มีหน่วยงานใดเป็นเจ้าของข้อมูลโดยตรง


                            หก       การจัดทำาตัวชี้วัดจะช่วยเป็นกรอบการดำาเนินงานของบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ชัดเจนขึ้น
                                     สอดคล้องกับสิทธิที่รับรองไว้ตามรัฐธรรมนูญ






                                          ๓.๕  กระบวนการในการพัฒนาตัวชี้วัด


                            จากขั้นตอนดังกล่าวข้างต้น สามารถเขียนเป็นแผนภูมิการดำาเนินงานได้ ดังนี้




                           แผนภูมิที่ ๒  กระบวนการการด�าเนินการศึกษาเพื่อพัฒนาตัวชี้วัด





                        ศึกษากรอบแนวคิด วิธีการ         ประชุมเชิงปฏิบัติการ     นำาผลที่ได้จากการสัมมนา ครั้งที่ ๑
                         และกระบวนการเบื้องต้น        ระดมความคิดเห็น ครั้งที่ ๑   มาวิเคราะห์ พัฒนา ตัวชี้วัด
                                                                                    เป็นร่างตัวชี้วัด (ร่างที่ ๑)





                       ประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ ๓   นำาผลที่ได้จากการสัมมนา ครั้งที่ ๒   ประชุมเชิงปฏิบัติการระดม
                      เพื่อรับฟังความคิดเห็น ร่างตัวชี้วัด   มาปรับปรุงแก้ไขเป็น   ความคิดเห็น ครั้งที่ ๒ เพื่อรับฟัง
                       (ร่างที่ ๒) เพื่อจัดทำาชุดตัวชี้วัด  ร่างตัวชี้วัด (ร่างที่ ๒)  ความคิดเห็น ร่างตัวชี้วัด (ร่างที่ ๑)





                          เสนอชุดตัวชี้วัดสุดท้าย
                         และรายงานฉบับสมบูรณ์
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95