Page 38 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 38
37
รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ดังนั้น ในการจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนจึงจำาเป็นต้อง
คำานึงถึง “สาระแห่งสิทธิ” ดังที่คณะกรรมการประจำากติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและ
สิทธิทางการเมือง (Human Rights Committee) และคณะกรรมการประจำากติการะหว่างประเทศ
ว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (Committee on Economic Social and Cultural
Rights) และองค์กร หรือสถาบันสิทธิมนุษยชนที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการส่งเสริมคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ได้ให้ความเห็นไว้เป็นสำาคัญ
สาระแห่งสิทธินั้นสามารถวิเคราะห์ได้จากแหล่งที่มาของพันธกรณีระหว่างประเทศ ดังนั้น
ในการกำาหนดตัวชี้วัดตามโครงการนี้ จึงจำาเป็นต้องศึกษาสาระแห่งสิทธิที่รับรองในแหล่งที่มาของ
พันธกรณีระหว่างประเทศ เพื่อให้เข้าใจมากขึ้น ผู้ศึกษาจึงได้เสนอแผนภูมิในการกำาหนดพันธะ
หน้าที่และสาระแห่งสิทธิ ดังนี้
แผนภูมิที่ ๑ แหล่งที่มาของพันธะหน้าที่และกระบวนการในการก�าหนดสาระแห่งสิทธิและตัวชี้วัด
๑. พันธกรณีระหว่าง ๒. ตัวชี้วัดที่มี
ประเทศในการประเมิน กระบวนการ/วิธีการ
ตรวจสอบ ที่เหมาะสม
กรอบคิด
๓. สะท้อนมิติ
ทางด้านพันธะหน้าที่ ๔. ใช้ประเมิน
สถานการณ์
ของรัฐ ผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้ปฏิบัติ ด้านตัวชี้วัด
สิทธิมนุษยชน
หน่วยงานผู้ปฏิบัติ
List of Issues ICCPR Report (Thailand)
Alternative สาระแห่งสิทธิ ตัวชี้วัด เกณฑ์วัด ชุดตัวชี้วัด ชุดตัวชี้วัดสุดท้าย
ประเด็นปัญหา Report
Concluding สิทธิมนุษยชน
Observation Countries Report
ของไทย
(US Department) ภาคประชาสังคม
UPR List of Annual Report
Recommendation
(British Gov.) เจ้าของข้อมูล / ผู้ใช้ประโยชน์
ผู้จัดเก็บข้อมูล จากตัวชี้วัด
UDHR General Comment
แหล่งที่มา
ICCPR
ปทัสฐาน
IECSCR Complaints