Page 113 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 113

112


       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
       การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน






                        ต�ร�งที่ ๘  ตัวอย่างตัวชี้วัดด้านความมั่นคงปลอดภัยและสิทธิมนุษยชน (Security and

                                   Human Rights Cluster) ของคณะกรรมาธิการความเท่าเทียมทางเพศ
                                   สาธารณรัฐแอฟริกาใต้


                     ๕.๑ คว�มรุนแรงที่มีส�เหตุม�จ�กเพศสภ�พ (Gender-Based Violence) และสิทธิมนุษยชน


                   เป้าหมาย  :   ลดคดีที่เกี่ยวกับความรุนแรง   หน่วยงานที่รับผิดชอบในการดำาเนินงานตามแผน:
                             ต่อสตรีและเด็กหญิง ลง ๕% ต่อปี   • กรมพัฒนาการยุติธรรมและรัฐธรรมนูญ (Department of Justice
                             จนกระทั่งหมดไป            and Constitutional Development)
                                                     • สำานักงานอัยการแห่งชาติ (National Prosecuting Authority)
                                                     • กรมกิจการคุมประพฤติ (Department of Correction Services)
                                                     • กรมการพัฒนาสังคม  (Department of Social Development)
                                                     • กรมสุขอนามัย (Department of Health)


                                ตัวชี้วัด                ข้อมูล / สถิติที่ได้รวบรวมจ�กทุกมลฑล (Provinces)


                   • จำานวนคดีความรุนแรงต่อสตรีที่มีการนำาเสนอ  แยกข้อมูลตามประเภทของความรุนแรงต่อสตรี
                     ต่อเจ้าหน้าที่ตำารวจ            • คดีข่มขืนกระทำาชำาเรา

                   • จำานวนและ/หรือสัดส่วนของคดีที่มีการนำาไป  • คดีความรุนแรงในครอบครัว
                     ฟ้องดำาเนินคดีในศาล             • คดีเกี่ยวกับการค้าหญิงและเด็กหญิง

                   • จำานวนผู้กระทำาละเมิดที่ถูกศาลพิพากษา  • การปฏิบัติตามวัฒนธรรมที่ก่อให้เกิดอันตราย
                     ลงโทษจำาคุกและระยะเวลาของการจำาคุก    (Harmful Cultural Practices)
                     ตามคำาพิพากษาแยกระดับโทษจำาคุกเป็น   -  การทดสอบการเป็น “สาวบริสุทธิ์”
                     -  ต่ำากว่า ๑๐ ปี                 -  การเฉือนทำาลายอวัยวะเพศของสตรี
                     -  ๑๐ ปี – ๑๕ ปี                  -  การบังคับให้สะใภ้มีเพศสัมพันธ์กับพ่อของสามี
                     -  กว่า ๑๕ ปี – ๒๐ ปี             -  การบังคับให้หญิงหม้ายสมรสกับญาติฝ่ายสามี
                     -  กว่า ๒๐ ปี – ๒๕ ปี             -  การลักพาตัวเด็กหญิงไปเพื่อบังคับให้แต่งงาน
                     -  มากกว่า ๒๕ ปี

                   • จำานวนสตรี/เด็กหญิงที่แสวงหาที่พักพิง  • จำานวนกรณี หรือร้อยละที่ได้มีจัดหาแหล่งพักพิงให้ที่สตรี/เด็กหญิง
                     ชั่วคราวจากครอบครัวอุปการะหรือที่พักพิง
                     ชั่วคราว
                   • สัดส่วนประชากรที่รู้ว่าความรุนแรงต่อสตรี  • ร้อยละต่อประชากรทั้งหมด
                     เป็นความผิดอาญา


                  ที่มา : ปรับปรุงจาก South African Commission on Gender Equality, (2010), A Gender Review of South Africa’s
                       Implementation of Millennium Development Goals
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118