Page 98 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 98

อยุติธรรมด้วยการคุ้มครองผู้ไร้อ านาจและควบคุมผู้ที่มีอ านาจ ถึงเวลาที่ต้องให้ความส าคัญกับ

                  ประชาชนเหนือบรรษัท และให้ความส าคัญกับสิทธิเหนือผลก าไร

                         มหาอ านาจทั้งในระดับโลกและภูมิภาคซึ่งแสดงความสนับสนุนทางวาจาอย่าง

                  กระตือรือร้นและเต็มที่ต่อการประท้วงของประชาชนเมื่อช่วงต้นปี 2554 ยังไม่ได้มีการเปลี่ยนจาก
                  ค าพูดให้เป็นการปฏิบัติ ในขณะที่ชาวอียิปต์ไปเลือกตั้งประธานาธิบดีคนใหม่ ดูเหมือนว่าโอกาส

                  ของการเปลี่ยนแปลงที่เป็นผลงานของผู้ประท้วงก าลังถูกท าให้สูญเปล่า

                         นอกจากนี้บรรดาพันธมิตรที่ฉวยโอกาสและผู้ได้รับประโยชน์จากเศรษฐกิจการเงินย ่ายี

                  สิทธิมนุษยชน ในขณะที่มหาอ านาจโลกก็เข้าไปแทรกแซงมีอิทธิพลเหนือตะวันออกกลางและ

                  แอฟริกาเหนือ คนมักจะมีการพูดถึงสิทธิมนุษยชนก็ต่อเมื่อตอบสนองนโยบายด้านการเมืองหรือ

                  นโยบายของบรรษัท แต่เพิกเฉยต่อสิทธิมนุษยชนเมื่อกลายเป็นประเด็นที่สร้างความยากล าบาก

                  หรือขัดขวางหนทางแสวงหาก าไร ในบางเหตุการณ์ อาทิเช่น การไม่เข้าไปแทรกแซงกรณีศรี

                  ลังกาและการเพิกเฉยต่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติในซีเรีย (ซึ่งเป็นลูกค้าซื้ออาวุธรายใหญ่จาก
                                                                                                    ้
                  รัสเซีย) เป็นเหตุให้คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติไม่สามารถท าหน้าที่ปกปอง
                  สันติภาพของโลกได้อย่างเต็มที่ ในขณะที่กลุ่มประเทศที่มีอ านาจต่อรองใหม่อย่างเช่น บราซิล

                  อินเดีย และแอฟริกาใต้ก็มักจะท าตัวสอดคล้องกลมกลืนด้วยการสงวนถ้อยค า และสถานการณ์ใน

                  ซีเรียเป็นเรื่องที่ชัดเจนและมีเหตุผลน่าเชื่อถืออย่างมาก ซึ่งควรส่งเรื่องให้ศาลอาญาระหว่าง

                  ประเทศสอบสวนกรณีที่เป็นอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ แต่เจตจ านงของสมาชิกคณะมนตรีความ

                                                          ้
                  มั่นคงแห่งสหประชาชาติบางประเทศที่ปกปองซีเรียในทุกวิถีทาง เป็นเหตุให้ความรับผิดต่อ
                  อาชญากรรมยากจะเกิดขึ้นได้ และยังเป็นการทรยศหักหลังประชาชนชาวซีเรียอีกด้วย

                         การคุ้มครองเสรีภาพในการแสดงออกทั้งในประเทศและต่างประเทศ รัฐบาลแต่ละประเทศ
                  ควรให้ความส าคัญกับความรับผิดชอบระหว่างประเทศอย่างจริงจัง และลงทุนในระบบและ

                  โครงสร้างที่ช่วยประกันความยุติธรรม เสรีภาพและความเท่าเทียมเบื้องหน้ากฎหมาย เพราะการ

                  ขับไล่ผู้น าทรราชบางคน ไม่เพียงพอที่จะน าไปสู่การเปลี่ยนแปลงในระยะยาวได้ดีพอ ส าหรับ

                              ั
                  สถานการณ์ปญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้นทั่วโลกหลักๆ และน ามายกตัวอย่างในรายงานฉบับนี้ ได้แก่
                         -   รัฐเผด็จการเบ็ดเสร็จอย่างเช่นจีน ได้ใช้กลไกความมั่นคงอย่างเต็มที่เพื่อกดดันไม่ให้มี

                  การประท้วงส่วนที่เกาหลีเหนือยังไม่มีพัฒนาการด้านสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนที่เลวร้ายเลย

                         -   ในทวีปแอฟริกาเขตที่ต ่ากว่าทะเลทรายซาฮาราลงมา ตะวันออกกลางและแอฟริกา

                  เหนือ มีการประท้วงอย่างต่อเนื่องของประชาชน แต่ทางการในประเทศอังโกลาจนถึงเซเนกัล และ

                  ถึงยูกันดาต่างก็ตอบโต้ผู้ประท้วงในประเทศของตนด้วยการใช้ก าลังเกินกว่าเหตุ





                                                          - 54 -
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103