Page 88 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 88
นับตั้งแต่ที่ประเทศไทยได้ให้การรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนของ
สหประชาชาติ ในปี พ.ศ. 2491 เป็นต้นมานั้น ยังไม่เคยมีบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับใดที่ให้
อ านาจในการจัดตั้งองค์กรระดับชาติที่มีอ านาจหน้าที่โดยตรงในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น
แต่อย่างใด ดังนั้น ในการจัดท ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 จึงได้มี
บทบัญญัติให้จัดตั้งองค์กรที่มีอ านาจหน้าที่ดังกล่าวขึ้นไว้ในมาตรา 199-200 โดยใช้ชื่อว่า
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ซึ่งประกอบด้วยประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอีก
10 คน ได้รับการแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์ตามค าแนะน าของวุฒิสภา โดยการสรรหาจากผู้ที่มี
ความรู้หรือประสบการณ์ในด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยค านึงถึงสัดส่วนหญิง
ชายและผู้แทนจากองค์กรเอกชนด้านสิทธิมนุษยชน มีวาระในการด ารงต าแหน่ง 6 ปี โดยจะด ารง
ต าแหน่งได้เพียงวาระเดียวเท่านั้น
และประเทศไทยได้ให้ความร่วมมือกับนานาประเทศในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของ
สหประชาชาติ ให้สัตยาบันกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางแพ่งและทางการเมือง และได้เข้า
ร่วมเป็นภาคีในอนุสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ อีกหลายฉบับ ดังนี้ อนุสัญญาเจนีวาเพื่อให้
่
ผู้บาดเจ็บและผู้ปวยในสนามรบมีภาวะดีขึ้น ค.ศ. 1949 อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิทางการเมืองของ
สตรี ค.ศ. 1952 อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ ค.ศ. 1979 และ
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ค.ศ. 1989 เป็นต้น นอกจากการให้ความร่วมมือกับนานาประเทศดังที่
ได้กล่าวแล้ว ประเทศไทยยังได้ด าเนินมาตรการอื่นๆ เพื่อส่งเสริมการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ภายในประเทศอีกหลายประการ ได้แก่ การยกเลิกกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติต่างๆ ที่ขัดหรือแย้ง
กับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และให้ความส าคัญต่อการจัดท ากฎหมาย ระเบียบ หรือ
ข้อบังคับที่จะออกมาภายหลังให้สอดคล้องกับหลักการของปฏิญญาสากลฯ ดังกล่าว
กลไกของรัฐในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน กลไกของรัฐ ถือเป็นเครื่องมือที่ส าคัญในการบังคับใช้
กฎหมายและมีบทบาทอย่างมากต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย กลไกดังกล่าวนี้ มี
ทั้งกลไกที่มีอ านาจหน้าที่ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนโดยตรง ได้แก่ คณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแห่งชาติ ซึ่งมีอ านาจหน้าที่ในการรับค าร้องเรียนและตรวจสอบในกรณีที่มีการละเมิด
้
สิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น และกลไกอื่นๆ ได้แก่ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
่
่
่
แห่งชาติ ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา กลไกของฝายนิติบัญญัติ ฝายบริหาร และฝายตุลาการ
กลไกเหล่านี้มิได้มีหน้าที่โดยตรงในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน แต่ในการด าเนินการตามอ านาจ
หน้าที่ ได้มีส่วนช่วยส่งเสริมต่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนด้วยเช่นกัน เช่น การตรวจสอบการ
- 44 -