Page 62 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 62

ขั้นพื้นฐาน โดยไม่เลือกปฏิบัติในเรื่องเชื้อชาติ เพศ ภาษา และศาสนา เป็นวัตถุประสงค์ประการ

                  หนึ่งของระบบภาวะทรัสตี (Trusteeship System)



                         พันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชนภายใต้กฎบัตรสหประชาชาติ

                         กฎบัตรสหประชาชาติถือเป็นสนธิสัญญาพหุภาคีที่มีผลผูกพันทางกฎหมายต่อรัฐที่เป็น

                  สมาชิกขององค์การสหประชาชาติ แต่การที่บทสิทธิมนุษยชนที่ปรากฏในกฎบัตรมีความไม่
                  ชัดเจน เช่น การขาดค าจ ากัดความของ “สิทธิมนุษยชน” ก่อเกิดข้อโต้แย้งระหว่างนักวิชาการ ซึ่ง

                  บางกลุ่มถือว่าบทเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ปรากฏในกฎบัตรเป็นเพียงความมุ่งปรารถนา

                  (Aspiration)  หรือข้อที่ “ควรปฏิบัติ” ของรัฐ มากกว่าจะเป็นมาตรฐานบังคับใช้ทั่วไปส าหรับรัฐ

                  สมาชิก ซึ่งหมายถึงว่าต้องมีการตีความและการปฏิบัติจนเป็นที่ยอมรับทั่วไปก่อน จึงจะถือเป็น

                                          ั
                  บรรทัดฐานได้ ก่อให้เกิดปญหาในการบังคับใช้ เช่น กฎบัตรมีผลผูกพันกับรัฐสมาชิกมากน้อย
                  เพียงใด รวมถึงการยอมรับอ านาจขององค์การสหประชาชาติในการเข้าไปมีบทบาทแทรกแซงเมื่อ

                  เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชน


                  3.1 ความหมายของค าว่าสิทธิมนุษยชน



                         จากการค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง พบว่าศราวุฒิ ประทุมราช (2547  :  3-5) ได้กล่าวว่า

                  หากเราตั้งค าถามว่า คนเราเมื่อเกิดมาแล้ว อะไรเป็นสิ่งจ าเป็นที่ท าให้เรามีชีวิตอยู่รอด ค าตอบที่

                                                   ั
                  พอจะมองเห็นได้อย่างชัดเจนก็คือ ปจจัยสี่ ได้แก่ อาหาร น ้า เสื้อผ้า ยารักษาโรค และที่อยู่อาศัย
                  อาหาร ได้มาจากไหน ค าตอบก็คือ ได้มาจากพืชพันธุ์ธัญญาหารที่เราปลูกลงดิน ได้มาจากสัตว์

                  เลี้ยงที่เราเลี้ยงไว้เป็นอาหาร ซึ่งแปลว่าคนเราต้องมีที่ดินท ากินเป็นของเราเองอาหารเหล่านี้

                                                                          ั
                  สามารถท าให้เรามีกินเพื่อจะอยู่รอดได้ บ้านก็เช่นกัน ถือเป็นปจจัยที่คนทุกคนต้องมี ไม่ว่าคนจะ
                  อยู่บ้านขนาดเล็กขนาดใหญ่ อยู่กระท่อมหรืออยู่อาศัยในเรือหรือแพ ไม่ว่าบ้านเรือนที่พักอาศัยนั้น

                  เราจะซื้อหามาด้วยตัวเองหรือเป็นการเช่าก็ตาม คนเราไม่ควรเดินเร่รอนอาศัยอยู่ตามท้องถนน
                  หรืออาศัยอยู่ใต้สะพานลอยหรือสะพานข้ามคลอง การมีที่อยู่อาศัยท าให้คนเรามีความเป็นอยู่

                                                                             ้
                  อย่างเหมาะสมแก่ความเป็นมนุษย์ เครื่องนุ่งห่ม เสื้อผ้ามีไว้เพื่อปองกันความหนาวเย็น สร้าง
                                                                                            ั
                                                       ้
                  ความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย และเป็นการปองกันความอุดจาด ยารักษาโรค ก็เป็นปจจัยที่จ าเป็น
                                                                     ั
                  เพื่อท าให้เราหายจากโรคภัยไข้เจ็บ จะเห็นได้ว่าเพียงแค่ปจจัยสี่เพียงค าตอบเดียวก็เป็นเครื่องบ่ง
                  บอกถึงการมีชีวิตอยู่รอดได้ในฐานะที่เราเป็นคน ต้องมีสิ่งเหล่านี้





                                                          - 18 -
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67