Page 279 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 279
ในกรณีที่ส่วนราชการที่ได้รับค าร้องทุกข์เห็นว่าค าร้องทุกข์ที่รับไว้อยู่ในอ านาจหน้าที่ของ
ส่วนราชการอื่นให้ส่งค าร้องทุกข์นั้นไปยังส่วนราชการอื่นที่มีอ านาจหน้าที่เพื่อด าเนินการต่อไปใน
ั
กรณีที่มีปญหาว่าค าร้องทุกข์อยู่ในอ านาจหน้าที่ของส่วนราชการใดในกระทรวงเดียวกันให้เสนอ
ั
เรื่องให้คณะกรรมการประจ ากระทรวงเป็นผู้ชี้ขาดแต่หากเป็นกรณีที่มีปญหาว่าค าร้องทุกข์อยู่ใน
อ านาจหน้าที่ของส่วนราชการใดต่างกระทรวงกันให้คณะกรรมการเป็นผู้ชี้ขาด
5.4.9 การพิจารณาด าเนินเรื่องร้องทุกข์
ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี 2552 ในการพิจารณาค าร้องทุกข์เจ้าหน้าที่ส่วนราชการ
ผู้รับผิดชอบค าร้องทุกข์ต้องพิจารณาพยานหลักฐานที่ตนเห็นว่าจ าเป็นแก่การพิสูจน์ข้อเท็จจริงใน
การนี้ให้รวมถึงการด าเนินการ ดังต่อไปนี้
1. แสวงหาพยานหลักฐานทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง
ั
2. รับฟงพยานหลักฐานค าชี้แจงหรือความเห็นของผู้ร้องทุกข์หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
่
และความเห็นของพยานผู้เชี่ยวชาญเว้นแต่เห็นว่าเป็นเรื่องไม่จ าเป็นฟุมเฟือยหรือเป็นการประวิง
เวลา
3. ขอให้ผู้ครอบครองเอกสารส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง
4. ออกไปตรวจสถานที่
ถ้าผู้ร้องทุกข์ได้รับแจ้งจากเจ้าหน้าที่ส่วนราชการให้มาให้ถ้อยค าหรือแสดง
พยานหลักฐานแล้วไม่ด าเนินการตามที่ได้รับแจ้งนั้นภายในระยะเวลาที่เจ้าหน้าที่ส่วนราชการ
ก าหนดโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรส่วนราชการจะสั่งให้จ าหน่ายค าร้องทุกข์ออกจากสารบบการ
พิจารณาเสียก็ได้
เมื่อเจ้าหน้าที่ส่วนราชการผู้รับผิดชอบค าร้องทุกข์ได้พิจารณาค าร้องทุกข์และรวบรวม
ข้อเท็จจริงต่างๆตามความจ าเป็นและสมควรแล้วเห็นว่าไม่อาจด าเนินการได้ ให้เจ้าหน้าที่ส่วน
ราชการผู้รับผิดชอบค าร้องทุกข์ท าบันทึกเสนอหัวหน้าส่วนราชการโดยมีสาระส าคัญดังต่อไปนี้
1. สรุปข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายพร้อมด้วยเหตุผลให้หัวหน้าส่วนราชการ
วินิจฉัย
2. เสนอความเห็นพร้อมด้วยเหตุผลให้คณะกรรมการหรือคณะกรรมการประจ า
กระทรวงวินิจฉัยในกรณีที่ค าร้องทุกข์ไม่อยู่ในอ านาจหน้าที่ของส่วนราชการนั้น
- 230 -