Page 226 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 226

มาตรา 10 ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาต้องเป็นผู้ซึ่งเป็นที่ยอมรับนับถือของประชาชน

                  มีความรอบรู้และมีประสบการณ์ในการบริหารราชการแผ่นดินวิสาหกิจ หรือกิจกรรมอันเป็น

                  ประโยชน์ร่วมกันของสาธารณะ และมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์

                         รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
                  ว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา พ.ศ.  2542  ก าหนดให้มีส านักงานผู้ตรวจการแผ่นดินของ

                  รัฐสภาเป็นหน่วยธุรการของผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาโดยมีฐานะเป็นหน่วยงานของรัฐเป็น

                  นิติบุคคลและอยู่ภายใต้การก ากับดูแลของผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ

                                                                                                    ่
                  ส านักงานผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาเป็นองค์กรอิสระที่ไม่อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของฝาย
                  บริหารหรือตุลาการโดยมีอ านาจหน้าที่ในกิจการทั่วไปของผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา

                         ต่อมาเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2543 ได้มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายพิเชต  สุนทร

                  พิพิธ เป็นผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาคนแรกของไทยและได้มีค าสั่งจากผู้ตรวจการแผ่นดินของ

                  รัฐสภาแต่งตั้งนายปราโมทย์ โชติมงคลเป็นเลขาธิการส านักงานผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาเมื่อ

                  วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2543 จึงนับว่าเป็นการก่อตั้งสถาบันผู้ตรวจการแผ่นดินได้เสร็จสมบูรณ์
                  โดยใช้เวลาในการด าเนินการทั้งสิ้นถึง 25 ปีนับตั้งแต่มีแนวคิดที่จะก าหนดให้มีสถาบันผู้ตรวจการ

                  แผ่นดินเมื่อคราวร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.  2517  ต่อจากนั้นได้มีพระบรมราช

                  โองการแต่งตั้งนายพูลทรัพย์ ปิยะอนันต์ให้ด ารงต าแหน่งผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาเพิ่มเติม

                  เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2545

                         อย่างไรก็ตามเมื่อวันที่  19  กันยายน พ.ศ.2549  คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบ

                  ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขได้ยึดอ านาจการปกครองแผ่นดินโดยประกาศ

                  คณะปฏิรูปฯ ฉบับที่ 3 ได้ประกาศให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 สิ้นสุดลงแต่
                  คณะปฏิรูปฯได้ออกประกาศฯ ฉบับที่  14  ลงวันที่  21  กันยายน พ.ศ.  2549  เรื่องให้

                  พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญบางฉบับมีผลใช้บังคับต่อไปความว่า เพื่อให้การด าเนินการ

                  เกี่ยวกับการรับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินและการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่

                  ของรัฐเป็นไปอย่างต่อเนื่อง คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์

                  ทรงเป็นประมุขจึงมีประกาศให้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของ

                  รัฐสภาพ.ศ. 2542 มีผลใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะประกาศเป็นอย่างอื่น

                         หลังจากที่มีการยกเลิกรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.  2540  แล้วได้มีการ

                  ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  (ฉบับชั่วคราว)  พ.ศ.  2549  โดยก าหนดให้มีสภา

                  ร่างรัฐธรรมนูญท าหน้าที่ในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ให้แล้วเสร็จภายใน  180  วันนับแต่มีการ
                                                                                                 ั
                  ประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญเป็นครั้งแรกและในการร่างรัฐธรรมนูญจักต้องจัดให้มีการรับฟงความ


                                                          - 181 -
   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231