Page 223 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 223

อ านาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดินบรรลุผลในระดับที่แผ่นดินมุ่งมั่นที่จะด าเนินงานเชิงบูรณา

                  การเพื่อเป็นก าลังส าคัญในการวางรากฐานระบบธรรมาภิบาลบนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรมให้

                  เกิดขึ้นในภาพรวมของประเทศสมดังเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญต่อไป



                         5.3.2 ที่มา/เหตุผลในการจัดตั้งองค์กร

                         จากการศึกษาในงานของพิเชต สุนทรพิพิธ (2546 :  46) พบว่า ในประเทศไทยหลักการ
                  ตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐ หรือการตรวจสอบการใช้ดุลยพินิจของผู้ปกครองนั้นมีมาตั้งแต่สมัย

                  สุโขทัย โดยประชาชนที่มีความเดือดร้อนก็สามารถร้องทุกข์ไปยังพระมหากษัตริย์ โดยการไปสั่น

                  กระดิ่งที่แขวนไว้ที่ปากประตูเมืองได้ เมื่อพระมหากษัตริย์ทราบเรื่องทุกข์ร้อนต่างๆ ก็จะแก้ไข

                  เยียวยาเรื่องทุกข์ร้อนของประชาชนให้คลายความเดือดร้อนอย่างทันท่วงที ต่อมาในสมัยกรุงศรี

                                                                                             ั
                  อยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร์ก็ล้วนมีวิธีการที่เหมาะสมกับยุคสมัยในการแก้ไขปญหาความ
                  เดือดร้อนที่เกิดจากการใช้อ านาจรัฐ อย่างไรก็ตามนับตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการเมืองการ

                  ปกครองในปี พ.ศ. 2475 ก่อให้เกิดการพัฒนาการเมืองการปกครอง ท าให้เกิดความสลับซับซ้อน

                  ในวิธีการปฏิบัติราชการทางปกครองมากขึ้น รวมทั้งมีกฎหมายที่ให้อ านาจกับผู้ใช้อ านาจรัฐมาก

                  ขึ้นส่งผลให้มีแนวคิดในการจัดตั้งสถาบันขึ้นมาท าหน้าที่ในการตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐ การใช้
                  ดุลยพินิจของผู้ปกครอง การพิจารณาตรวจสอบและรับเรื่องราวร้องทุกข์ในรูปแบบสถาบัน

                  ผู้ตรวจการแผ่นดินขึ้น เพื่อเป็นการเยียวยาความเดือดร้อนของประชาชน ที่เกิดจากการใช้อ านาจ

                  ของเจ้าหน้าที่ของรัฐดังกล่าว

                         ชลัช จงสืบพันธ์ และคณะ (2551 : 3,102-103) กล่าวถึง แนวความคิดในการจัดตั้ง

                  สถาบัน Ombudsman  มีมาอย่างต่อเนื่อง และเกิดแรงผลักดันอย่างจริงจังในการที่จะบัญญัติ

                  สถาบัน Ombudsman  ไว้ในรัฐธรรมนูญของไทย นับตั้งแต่การพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่ง

                  ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2517 จนกระทั่งมีการปฏิรูปการเมืองซึ่งได้น าไปสู่การแก้ไขรัฐธรรมนูญ
                  แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534  ฉบับที่ 5  โดยการแก้ไขในครั้งนั้นได้มีการเพิ่ม

                  บทบัญญัติว่าด้วยผู้ตรวจการรัฐสภาไว้ในมาตรา 162 ทวิ ของรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว อย่างไรก็

                  ตามตลอดการบังคับใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ไม่มีการแต่งตั้งผู้ตรวจการรัฐสภาแต่อย่างใด จวบ

                  จนกระทั่งได้มีการผลักดันให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญได้ยอมรับ

                  หลักการให้มี “ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา” โดยบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

                  พ.ศ. 2540  มาตรา 196-198  และก าหนดให้มีการตรากฎหมายรองรับเป็นพระราชบัญญัติ

                  ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา โดยรัฐสภาได้ให้ความเห็นชอบ และมี

                  การประกาศใช้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา พ.ศ.


                                                          - 178 -
   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227   228