Page 21 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 21

การไกล่เกลี่ย

    ปัญหา                 แนวทางแก้ไข
 กรณีการไกล่เกลี่ย    1.  ด้านโครงสร้าง
 1)  ควรให้น ้าหนักกับการไกล่เกลี่ยให้มากขึ้น โดยมีทักษะ ความช านาญ เพื่อท าหน้าที่ในการ  ไกล่เกลี่ย
 1.  ส านักงาน กสม.ยังใช้กลไกการไกล่เกลี่ยค่อนข้างน้อย ไม่จริงจัง
 เบื้องต้น

 2)  สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงาน องค์กรที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ รวมถึงเครือข่ายการ
 ท างานด้านไกล่เกลี่ยร่วมกัน  อาทิ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ มูลนิธิสถาบันศึกษาและพัฒนาการ

 จัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี ฯลฯ
 3)  ก าหนดความชัดเจนของกลไกการไกล่เกลี่ยจ าแนกเป็น 2 ระดับ คือ การไกล่เกลี่ยเบื้องต้นแบบ ก่อนเข้า

 สู่กระบวนการตรวจสอบ และการไกล่เกลี่ยระหว่างกระบวนการตรวจสอบ
 2.  ด้านกระบวนการ
 1)  ควรมีการไกล่เกลี่ยเบื้องต้นที่มีลักษณะไม่เป็นทางการ ก่อนเข้าสู่กระบวนการตรวจสอบ

 2)  การไกล่เกลี่ยในระหว่างการตรวจสอบ เป็นการไกล่เกลี่ยภายใต้อนุกรรมการเฉพาะด้านที่ดูแลการ
                                                                   ่
 ตรวจสอบการละเมิดแต่ละด้าน ควรมีลักษณะที่เปิดกว้าง โดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝายสามารถ
 แจ้งความประสงค์ / ยื่นเรื่องขอไกล่เกลี่ย รวมถึงการผลักดันโดย กสม.















 - ฏ -
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26