Page 17 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 17

ขั้นตอนการรับเรื่องร้องเรียน

 ปัญหา                    แนวทางแก้ไข
    3)  เงื่อนไขหลักที่เป็นแนวทางพิจารณา “รับเรื่อง” “ไม่รับเรื่อง” หรือ “ประสานการคุ้มครอง”

 4)  ก าหนดระเบียบปฏิบัติที่ชัดเจนเกี่ยวกับกรอบเวลา ตามความซับซ้อนของเรื่องร้องเรียน
 5)  มาตรฐานของรูปแบบและเนื้อหาในการก าหนดรูปเรื่อง ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน

 ควรพิจารณาก าหนดกรอบของ “สาระค าร้อง” ที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนให้ชัดเจน
 โดยจัดท าเป็นคู่มืออ้างอิงประกอบ

 1. ด้านกระบวนการรับเรื่อง
      เมื่อได้รับเรื่องร้องเรียนให้เจ้าหน้าที่พิจารณา ว่าเป็นเรื่องการประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน หรือการ

 ละเมิดสิทธิมนุษยชน แล้วน าเสนอผู้อ านวยการส านักคุ้มครองสิทธิมนุษยชน เพื่อพิจารณาอนุมัติด าเนินการ
 ในขั้นตอนต่อไป จ าแนกเป็น

 กรณีไม่รับเรื่อง:
 1)  กรณีเรื่องที่ร้องเรียนไม่อยู่ในอ านาจหน้าที่ของ กสม. ให้เจ้าหน้าที่ท าความเห็นเสนอผู้อ านวยการส านัก

 เพื่ออนุมัติการแจ้งต่อคณะกรรมการ กสม. ต่อไป
 กรณีประสานการคุ้มครอง:

 1)  กรณีเรื่องร้องเรียนที่เห็นว่าควรส่งต่อให้องค์กรซึ่งมีอ านาจหน้าที่โดยตรง เป็นผู้ด าเนินการ ให้ผู้รับเรื่อง

 ร้องเรียนด าเนินการ ดังนี้
 1.1 ท าความเห็นเสนอต่อผู้อ านวยการส านัก เพื่อพิจารณาอนุมัติ
 1.2 ส่งเรื่อง / ประสานให้หน่วยงานที่มีอ านาจหน้าที่โดยตรงเป็นผู้ด าเนินการ พร้อมติดตามผลความ

  คืบหน้าตามกรอบเวลาที่ก าหนดใน SOP








 - ญ -
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22