Page 25 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 25
ขั้นตอนการตรวจสอบ
ปัญหา แนวทางแก้ไข
5) ข้อมูลจากผลการตรวจสอบบางกรณี ไม่ครอบคลุม ครบถ้วน เมื่อ 3. พัฒนาคู่มือมาตรฐานการท างาน (SOP)
ั
สรุปผลการตรวจสอบและก าหนดมาตรการการแก้ไขปญหาแล้ว จึงไม่มี 1) ขั้นตอน และกรอบเวลาในกระบวนการตรวจสอบ
ข้อมูลสนับสนุนมาตรการและข้อเสนอแนะที่เพียงพอ จึงท าให้ค าวินิจฉัย 2) มาตรฐานด้านรูปแบบ และเนื้อหาของรายงานผลการตรวจสอบที่ชัดเจน
้
ไม่ได้รับการตอบสนองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือมีข้อโต้แย้ง 3) ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการปอนรายละเอียดข้อมูลความคืบหน้าลงฐานข้อมูลเรื่องร้องเรียน
6) ขั้นตอนที่มีความซ ้าซ้อน เช่นอนุกรรมการตรวจสอบ พิจารณารายงาน 4) ขอบเขต อ านาจ หน้าที่ ที่ชัดเจนในกระบวนการตรวจสอบของผู้เกี่ยวข้องแต่ละส่วน เช่น อนุกรรมการ
เสร็จแล้วยังต้องส่งให้คณะอนุกรรมการกลั่นกรองพิจารณาอีกรอบ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบ
ก่อนส่งให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณา ลงนาม หมายเหตุ คู่มือมาตรฐานการตรวจสอบ ต้องมีความสอดคล้องกับขั้นตอนที่ด าเนินมาก่อนหน้า
7) รูปแบบ เนื้อหาของรายงานผลการตรวจสอบ แต่ละคน (กลุ่มงาน) มี เช่นการก าหนดรูปเรื่อง ย่อมมีส่วนเชื่อมโยงกับกระบวนการตรวจสอบ และการเขียนรายงานผล เป็นต้น
ความแตกต่างกัน ไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน 4. ด้านกระบวนการ
8) ขาดความต่อเนื่องในการบันทึกรายละเอียดการตรวจสอบในระบบ 1) ผู้ได้รับมอบหมายด าเนินการตรวจสอบตามรูปเรื่องที่ได้รับอนุมัติ ภายใต้การก ากับดูแลของหัวหน้ากลุ่ม /
ฐานข้อมูล ที่ปรึกษา (ผู้อ านวยการกลุ่ม) และผู้อ านวยการส านัก
9) กลไกการท างานไม่เอื้ออ านวยต่อการพัฒนาคุณภาพบุคลากรด้านการ 2) การตรวจสอบ ให้ด าเนินการอย่างเคร่งครัดตามรูปเรื่องที่ก าหนด ให้สอดคล้องกับขอบเขตปญหา และ
ั
ตรวจสอบ เนื่องจากท าหน้าที่เพียงบางส่วนในกระบวนการตรวจ ความต้องการของผู้ร้อง เพื่อสามารถตอบค าถามได้ครบถ้วนตรงตามประเด็นที่ร้องเรียน
(อนุกรรมการเป็นผู้ด าเนินการเอง) 3) การเขียนรายงานผลการตรวจสอบ ควรมีการทบทวนรายงานการตรวจสอบที่ผ่านมา เพื่อเป็นแนวทาง
(เค้าโครง) ให้เนื้อหารายงานเป็นไปบนทิศทางเดียวกัน (ไม่ขัดแย้งกัน)
4) การจัดท าข้อเสนอแนะ ควรพิจารณาควบคู่ไปกับข้อกฎหมาย รวมถึงขอบเขตนโยบายและแนวทางปฏิบัติ
ั
ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความเป็นไปได้ในการปฏิบัติตาม ลดปญหาข้อโต้แย้ง
- ฑ -