Page 162 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 162

สนับสนุนและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ และที่ประชุมมี

                  ความเห็นร่วมกันถึงมาตรฐานขั้นต ่าของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ จึงได้มีการก าหนด

                  แนวทางของอ านาจและหน้าที่ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติขึ้น เรียกว่าหลักการปารีส (The

                  Paris  Principles)  ซึ่งก าหนดแนวทางว่ารัฐควรจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่เป็นอิสระ
                  เพื่อที่จะ

                                 1. ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน

                                                             ้
                                 2. แนะน ารัฐบาลในเรื่องการปกปองสิทธิมนุษยชน
                                 3. ทบทวนกฎหมายสิทธิมนุษยชน

                                 4. เตรียมรายงานสิทธิมนุษยชน

                                 5. รับและสอบสวนเรื่องราวร้องทุกข์จากสาธารณะชน

                         หลักการปารีส เป็นมาตรฐานสากลที่จะท าให้สถาบันสิทธิมนุษยชนระดับชาติ

                  มีประสิทธิภาพ กล่าวคือ   สถาบันสิทธิมนุษยชนระดับชาติต้องมีองค์ประกอบอย่างน้อย 6

                  ประการ คือ
                                 1. มีความเป็นอิสระ  (Independence)  ในการท างาน มีอ านาจตัดสินใจ

                  โดยปราศจากการแทรกแซงจากรัฐบาลและหน่วยงานใด ควรมีการเชื่อมโยงกับรัฐสภาหรือ

                  ขึ้นต่อประมุขของรัฐ มีการบริหารจัดการที่เป็นเอกเทศ มีกฎระเบียบของตนเอง ตั้งงบประมาณได้

                  อย่างเพียงพอ แต่งตั้ง และถอดถอนกรรมการและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานได้และต้องมีองค์ประกอบ

                  ที่หลากหลายและเป็น ตัวแทนของกลุ่มต่างๆ ในสังคมอย่างแท้จริง

                                 2. ต้องก าหนดภาระหน้าที่อย่างชัดเจนและมีอ านาจเพียงพอ         (Defined

                  jurisdiction  and  adequate  powers)  ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ
                  และกฎหมายจัดตั้ง สถาบัน และตามข้อตกลง กติกา อนุสัญญาระหว่างประเทศ ที่ส าคัญต้อง

                  ได้รับอ านาจทางกฎหมายอย่างเพียงพอไม่ว่าในการสอบสวนการละเมิดสิทธิมนุษยชน การเรียก

                  เจ้าหน้าที่ของรัฐ และบุคคลมาให้ข้อเท็จจริงหรือข้อมูล เป็นต้น

                                                                              ่
                                 3. ต้องเป็นสถาบันที่บุคคลและคณะบุคคลทุกฝาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย
                  (Accessibility)  โดยมีกฎเกณฑ์และกระบวนการท างานที่ประชาชนสามารถติดต่อยื่นค าร้องเรียน

                  ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว มีส านักงานสาขาทุกภูมิภาคเพื่อรับเรื่องราวร้องทุกข์ได้ทั่วประเทศ

                                                                                   ่
                                 4. ต้องยึดหลักการความร่วมมือ (Cooperation) กับทุกฝายตั้งแต่สหประชาชาติ
                  สถาบันสิทธิมนุษยชนระดับภูมิภาคและระดับประเทศ องค์การเอกชนหรือองค์การที่มิใช่ของรัฐ

                  (Non–Governmental Organizations-NGO) ตลอดจนองค์การระหว่างรัฐบาล (Intergovernmental
                  Organizations) ที่มีหน้าที่ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและกับหน่วยงานตุลาการ



                                                          - 118 -
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167