Page 161 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 161
บทที่ 5
องค์กรรับเรื่องราวร้องทุกข์เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
อันที่จริงแล้วองค์กรรับเรื่องราวร้องทุกข์เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
มีหลากหลายองค์กร ไม่ว่าจะเป็นองค์กร มูลนิธิ ของทั้งภาครัฐและเอกชน แต่งานวิจัยนี้จะขอ
ศึกษา 4 องค์กร ต่อไปนี้
1. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
2. ผู้ตรวจการแผ่นดิน
3. ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี
4. คณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ในคณะกรรมการกฤษฎีกา
5.1 คณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
5.1.1 สถานการณ์ปัญหาสิทธิมนุษยชนที่ส าคัญของประเทศ/ภูมิภาค
ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน (2545 : 112) ได้ว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทย พุทธศักราช 2540 บัญญัติรับรองการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของภาคประชาชน
้
จ านวนมาก ท าให้ประชาชนและชุมชนท้องถิ่นตื่นตัวต่อการใช้สิทธิและท าหน้าที่ปกปองดูแล
ทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพชีวิต สิทธิผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อมของตนเองตามสิทธิใน
รัฐธรรมนูญ ท าให้มีข้อขัดแย้งระหว่างประชาชนกับหน่วยงานของรัฐในระดับต่างๆ ที่นอกจากจะ
ตีความตามกฎหมาย กฎ ระเบียบเดิม ในหลายกรณี บางรายยังมีเจตนาละเลยในเชิงทุจริตทุจริต
คอรัปชั่นอีกด้วย
5.1.2 ที่มา/เหตุผลในการจัดตั้งองค์กร
ตามข้อมูลของส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (2555) ได้ระบุไว้ว่า
ภายหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) ได้มีการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ ซึ่งให้
ความส าคัญต่อการเคารพสิทธิมนุษยชนและเพื่อเป็นการประกันความมั่นคงและสันติภาพของโลก
และมวลมนุษยชาติ กฎบัตรสหประชาชาติมีมาตราที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนอย่างชัดเจนอยู่
หลายข้อ และ องค์การสหประชาชาติ ได้สนับสนุนให้เกิดองค์การสิทธิมนุษยชนระดับชาติใน
ประเทศต่างๆ ก าหนดขึ้นจากการประชุมสัมมนาว่าด้วยสถาบันแห่งชาติและท้องถิ่น เพื่อ
- 117 -