Page 393 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 393

2.1 กรณีที่ผู้ครอบครองที่ดินมีหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน ให้แจ้งเจ้าพนักงานที่ดิน
                       ดําเนินการตามมาตรา 61 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
                                2.2 กรณีที่ผู้ครอบครองที่ดินได้ยื่นคําขอออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ยื่นคัดค้านการ

                       ออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินต่อเจ้าพนักงานที่ดิน เพื่อให้ดําเนินการสอบสวนเปรียบเทียบตามมาตรา 60
                       แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
                                2.3 กรณีที่ผู้ครอบครองที่ดินไม่มีหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน และไม่ได้ยื่นคําขอออกหนังสือ

                       แสดงสิทธิในที่ดิน ให้ดําเนินการตามกฎหมายและระเบียบต่อไป
                              3.  เมื่อได้พิสูจน์สิทธิการครอบครองที่ดินตามข้อ 1  แล้ว ปรากฏว่ามีการครอบครองทําประโยชน์
                                                                            ั
                       ในที่ดินมาก่อนการเป็นที่ดินของรัฐให้คณะอนุกรรมการแก้ไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ จังหวัด
                       แจ้งผลการพิสูจน์สิทธิดังกล่าวให้บุคคลที่ครอบครองที่ดินทราบภายในกําหนด 30 วันทําการและแจ้ง
                       ให้หน่วยงานที่มีอํานาจหน้าที่ดูแลรักษาที่ดินของรัฐดําเนินการ ดังนี้
                                                                                                   ั
                                 3.1 กรณีที่หน่วยงานของรัฐดังกล่าวเห็นด้วยกับมติของคณะอนุกรรมการแก้ไขปญหาการ
                       บุกรุกที่ดินของรัฐ จังหวัดให้แจ้งเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดดําเนินการตามกฎหมายและระเบียบต่อไป
                                                                                                      ั
                                 3.2 กรณีที่หน่วยงานของรัฐดังกล่าวไม่เห็นด้วยกับมติของ คณะอนุกรรมการแก้ไขปญหา
                       การบุกรุกที่ดินของรัฐ จังหวัดให้พิจารณาดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ต่อไป

                              2. คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2547 มาตรการในการแก้ไขปัญหาการบุกรุก
                                                                               ั
                       ที่ราชพัสดุ ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ มาตรการแก้ไขปญหาการบุกรุกที่ราชพัสดุตามที่
                       กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้
                              1. มาตราการที่กําหนดให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนทองถิ่น
                       ที่ครอบครองใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุต้องดําเนินการ

                                 1.1 ส่วนราชการ หน่วงงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ครอบครอง
                       ใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุ จะต้องหมั่นตรวจสอบดูแลที่ดินของตนเองอย่างสมํ่าเสมอ ตลอดจน
                                                             ั
                       ดําเนินการ ๆ ตามอํานาจหน้าที่เพื่อมิให้เกิดปญหาการบุกรุกที่ดินดังกล่าวขึ้น (ตามมติคณะรัฐมนตรี
                       เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2556)
                                 1.2 ให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มิได้ใช้ประโยชน์ใน
                       ที่ราชพัสดุและปล่อยปละละเลยให้มีการบุกรุกที่ราชพัสดุเกิดขึ้นจะต้องรับผิดชอบในการดําเนินการให้

                       ผู้บุกรุกออกจากที่ราชพัสดุก่อนส่งคืนที่ราชพัสดุให้กรมธนารักษ์ (ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 21
                       กุมภาพันธุ์ 2532)
                                 1.3   ให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่

                       ครอบครองใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุ มีหน้าที่ในการดําเนินการดังนี้
                                     1.3.1)  แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานให้มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการ
                       ปฏิบัติงานเกี่ยวกับที่ราชพัสดุภายในหน่วยงานนั้น ๆ การจัดทําและควบคุมทะเบียนที่ราชพัสดุให้มี
                                          ั
                       ความสมบูรณ์และเป็นปจจุบัน รวมทั้งควบคุมการใช้หรือขอเปลี่ยนแปลงการใช้ให้ถูกต้อง
                                     1.3.2)  ทํารายงานการตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตาม 1.  ตามแบบที่
                       กรมธนารักษ์กําหนดและจัดส่งให้กระทรวงการคลังทราบเป็นประจําทุกปี



                                                                                                      7‐31
   388   389   390   391   392   393   394   395   396   397   398