Page 93 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 93

71


               ในการเลือกที่จะเขารวมหรือไมเขารวมโครงการ ในขณะเดียวกับที่องคกรลูกจางในปจจุบัน ก็ไมไดใหความ
               สนใจในประเด็นสิทธิของผูติดเชื้อ เหมือนกับการรณรงคเพื่อปองกันการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวีในทศวรรษ
                     172
               กอนๆ  ในสภาวะองคกรลูกจาง ไมไดมีความสนใจและขาดพลังในการผลักดันประเด็น อํานาจการตัดสินใจ
               กลายเปนเรื่องของนายจางที่ใหความสนใจกับความคุมทุนในการจางงาน มาตรฐาน ASO Thailand จึงไมคอย
               มีอิทธิพลตอการสงเสริมใหมีการคุมครองสิทธิในวงกวาง นอกจากนี้ พบวา หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของในการ
               สงเสริมการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ โดยเฉพาะในระดับปฏิบัติ ในบางหนวยงาน ก็ไมมี

               ความรู ความเขาใจในเรื่องโรคเอดสและเชื้อเอชไอวีอยางเพียงพอ จึงไมสามารถคุมครองสิทธิในการประกอบ
                                  173
               ของผูติดเชื้อเอชไอวีได  ประกอบกับการไมใหความสําคัญตอมิติการทํางานแบบไตรภาคี (tripartite action)
               หรือแมกระทั่งการสงเสริมการเจรจาเชิงสังคม (social dialogue) ของผูมีสวนไดสวนเสียอยางตอเนื่อง ทําให
               มาตรการการสงเสริมการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อขาดทิศทางและความชัดเจน และไม

               เปนไปตามแนวปฏิบัติฯ ที่ไดประกาศไว
                       ปญหาการละเมิดสิทธิของผูติดเชื้อในภาคราชการ กลายเปนสวนที่แกไขไดยากที่สุด ไมวาจะเปนกรณี
               ตํารวจชั้นประทวน หรือผูชวยผูพิพากษาก็ตาม เพราะเปนกลไกที่แข็งตัว ไมคอยยอมรับความเปลี่ยนแปลง แม
               จะมีความพยายามในการทําความเขาใจจากคนกลาง อยางคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติก็ตาม ใน

               กรณีของหนวยงานราชการ สํานักงานอัยการสูงสุด จึงเปนตัวอยางเดียวที่มีความเขาใจมากพอ และยกเลิกการ
               บังคับตรวจหาเชื้อเอชไอวีในการสอบผูชวยอัยการ
                       สําหรับในภาคเอกชน ขอมูลจากกรณีศึกษาทั้งในสวนกลาง และในระดับพื้นที่ พบวา การเลือกปฏิบัติ

               ในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อในหลายกรณี เกิดจากการขาดความรู ความเขาใจทั้งในเรื่องการแพรระบาด
               ของเชื้อเอชไอวี และสิทธิของผูติดเชื้อ ในบางกรณี เมื่อมีการสรางเจรจาเพื่อความเขาใจรวมกัน ระหวาง 3
               สวน คือ นายจาง คนกลาง อยางเชน คณะอนุกรรมการคุมครองสิทธิ ภายใต คช.ปอ. คณะกรรมการสิทธิ
               มนุษยชนแหงชาติ เครือขายภาคประชาสังคมในพื้นที่ที่มีความรูความเขาใจมากพอ และตัวผูติดเชื้อเอชไอวี ก็
               ทําใหสามารถแกไขปญหาการละเมิดสิทธิของผูติดเชื้อได ในบางกรณีที่เปนองคกรขนาดใหญ การแกปญหา

               ดังกลาว อาจรวมไปถึงการปรับเปลี่ยนนโยบายในการจางงานที่มีผลในวงกวาง แตโดยทั่วไป การแกปญหาที่
               เกิดขึ้น มักเกิดผลในรายกรณีมากกวา และในกรณีที่ไมสามารถแกไขปญหาดวยเจรจาได การฟองรองคดีตอ
               ศาล กลายเปนเพียงมาตรการเดียวที่จะสรางบรรทัดฐานในอนาคตสําหรับผูประกอบการ แตการฟองรองตอ

               ศาล ก็มีขอจํากัดที่ตองใชระยะเวลานาน ทั้งสําหรับผูติดเชื้อและกลไกสนับสนุนผูติดเชื้อเอชไอวีดวย
                       การดําเนินงานเพื่อสงเสริมการคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อ ทั้งสิทธิในการประกอบอาชีพ และสิทธิ
               มนุษยชนดานอื่นๆ ในลักษณะนี้ จึงจําเปนตองไดรับการยอมรับ รวมถึงอุดหนุนทรัพยากรในการดําเนินงาน
               เพื่อสงเสริมใหตัวผูติดเชื้อ และคนกลางมีพลังในการรณรงคสรางความรู ความเขาใจในวงกวาง










               172
                  สาวิทย แกวหวาน อดีตเลขาธิการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ ไดยอมรับวา ในชวงปจจุบัน ขบวนการแรงงานไม
               คอยใหความสนใจกับปญหาเรื่องเอชไอวีมากนัก จึงไมมีความเคลื่อนไหวจากขบวนการแรงงงานในเรื่องดังกลาว (การสนทนา
               กลุมเจาหนาที่ของรัฐ เอกชนและองคกรพัฒนาเอกชนที่ทํางานเกี่ยวของกับผูติดเชื้อเอชไอวี 1 มีนาคม 2556) ซึ่งสอดคลองกับ
               ขอสังเกตที่ไดจากการสนทนากลุมลูกจางในสถานประกอบการ ตัวแทนสหภาพแรงงาน 8 มีนาคม 2556
               173  ขอสังเกตจากผูอํานวยการมูลนิธิศูนยคุมครองสิทธิดานเอดส การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอผล
               การศึกษา, 16 พฤศจิกายน 2556
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98