Page 90 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 90

68


                       (2) การสรางความมั่นคงของระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชนมีสวนรวมในการจัดการสุขภาพ
               ของชุมชนและตนเอง

                       (3) คนทุกคนบนผืนแผนดินไทยมีสุขภาวะเขาถึงและไดรับบริการสุขภาพและสวัสดิการพื้นฐานที่
               จําเปนในการดําเนินชีวิตบนพื้นฐานการจัดบริการที่เคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

                       โดยมีการกําหนดวาระ 3 ประการเชนเดียวกันคือ
                       วาระที่ 1 การปฏิรูปสังคมและการเมืองเพื่อลดความเหลื่อมล้ํา สรางความเปนธรรม ลดปญหาเอดส
               มุงหนาสูความเปนรัฐสวัสดิการสาระสําคัญคือการปฏิรูปกฎหมาย นโยบายและระเบียบปฏิบัติใหสอดคลองกับ

               หลักสิทธิมนุษยชนและรัฐธรรมนูญ สงเสริมการนํานโยบายที่ดีที่มีอยูใหถูกนําไปปฏิบัติใชจริง เชน แนวปฏิบัติ
               แหงชาติวาดวยการปองกันและบริหารจัดการดานเอดสในสถานที่ทํางาน (เนนโดยผูวิจัย) เปนตน ตลอดจน
               การเสริมสรางพลังและความเขมแข็งของภาคประชาสังคมบนฐานคิดเรื่องสิทธิมนุษยชน และการสงเสริม
               สนับสนุนใหเกิดพื้นที่/ชุมชนจัดการสุขภาพตนเอง

                       วาระที่ 2 การปองกัน ดูแลรักษา ลดผลกระทบและขจัดการตีตรา การเลือกปฏิบัติ (เนนโดยผูวิจัย)
               โดยการพัฒนาระบบบริการสุขภาพดานการปองกันเอชวีแบบผสมผสาน รอบดาน มีมาตรฐานเดียว ขจัดการ
               เลือกปฏิบัติในการเขาถึงและไดรับบริการสุขภาพ ทั้งในสวนของรัฐและเอกชน การพัฒนาบริการสุขภาพที่
               ขยายใหครอบคลุมคนที่ไมไดรับสิทธิ เสริมสรางหลักประกันและความมั่นคงดานสุขภาพ การรณรงคตอ

               สาธารณะเพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติ สงเสริมกระบวนการมีสวนรวมของภาคประชาสังคมในกระบวนการทดลอง
               และพัฒนาระบบรัฐสวัสดิการสําหรับเด็กกําพราและผูสูงอายุอยางเทาเทียมกัน โดยไมแบงแยกเฉพาะผูไดรับ
               ผลกระทบจากเอดส
                       วาระที่ 3  โครงสรางและกลไกการขับเคลื่อนเพื่อสงเสริมสิทธิมนุษยชน วาระเอดสแหงชาติและ

               กระบวนการทํางานของภาคประชาสังคม โดยใหมีการจัดตั้งกองทุนดานการปองกันเอดสในระดับประเทศ
               ขับเคลื่อนการปองกันและแกไขปญหาเอดสอยางมีประสิทธิภาพ โดยทบทวนปรับปรุงการขับเคลื่อนงานเอดส
               ของประเทศ สนับสนุนใหกลไกในการสงเสริมและคุมครองสิทธิ มีบทบาทรวมกับหนวยงานดานสิทธิมนุษยชน

               ในการสงเสริมการเรียนรูและสรางบรรยากาศทางสังคมเรื่องสิทธิมนุษยชน และสงเสริมการมีสวนรวมของภาค
               ประชาสังคมในการดําเนินงานเฝาระวัง และกํากับดูแลการดําเนินงานที่เคารพ ปกปอง สงเสริมสิทธิดาน
               สุขภาพและสิทธิมนุษยชน สนับสนุนความเขมแข็งของกลไกภาคประชาชนในดานเอดส เพื่อใหมีการติดตาม
               ขับเคลื่อนวาระเอดสแหงชาติโดยภาคประชาชน สงเสริมใหมีกลไกจังหวัดและทองถิ่นในการจัดการสุขภาพ
               ตนเองที่ครอบคลุมนโยบายเรื่องเอดส และการพัฒนาระบบการติดตามประเมินผลที่มีสวนรวมของภาค

               ประชาชน
                       กลาวไดวา แมเครือขายภาคประชาสังคมดานเอดสจะมีหลายองคกร แตละองคกรก็มีการทํางาน
               เชื่อมโยงกัน และมีความเชื่อมโยงกับ คป.ชอ.อยางใกลชิด จุดเดนหนึ่งของเครือขายภาคประชาสังคมคือการมี

               เครือขายทั้งในระดับพื้นที่ และเครือขายในระดับชาติ ทําใหสามารถเขาถึงผูติดเชื้อเอชไอวีที่ประสบปญหาการ
               เลือกปฏิบัติไดมากกวาหนวยงานจากภาครัฐ โดยขอมูลจากการสัมภาษณและสนทนากลุมผูติดเชื้อเอชไอวี
               พบวา เมื่อประสบปญหาการเลือกปฏิบัติ ผูติดเชื้อมักขอความชวยเหลือจากเครือขายผูติดเชื้อดวยกัน หรือการ
               ใหบริการขององคกรในภาคประชาสังคมมากกวา เพราะสามารถเขาถึงไดสะดวกกวาองคกรภาครัฐ นอกจากนี้

               ยังอาจเปนเพราะการมีเครือขายเชื่อมโยงกันขององคกรคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อ จึงทําใหปญหาของพวกเขา
               ไดรับการตอบสนองมากกวา โดยจากปญหาการเลือกปฏิบัติในหลายกรณี พบวา เมื่อมีการรองเรียนไมวาจะ
               เปนในพื้นที่หรือในสวนกลาง กพอ. ซึ่งสวนหนึ่งเปนอนุกรรมการระดับชาติดานการสงเสริมและคุมครองสิทธิ
               ใน คช.ปอ. จะมีการประสานงานระหวางกันเพื่อใหเกิดการแกไขปญหา โดยเฉพาะการประสานงานกับนายจาง
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95