Page 92 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 92

70


                                                    กรณีศึกษาที่สําคัญ
                             การแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



               กรณีที่ 1 กรณีบริษัทขายเครื่องใชในบาน

                       กรณีนี้เกิดขึ้นเมื่อผูติดเชื้อคนหนึ่งเขาไปสมัครงานในบริษัทขายเครื่องใชในบานในบริษัทสาขาใน
               ภูมิภาค และถูกบังคับใหตรวจเลือดในการสมัครงาน ผูติดเชื้อจึงนําเรื่องไปปรึกษากับเครือขายผูติดเชื้อใน
               ระดับพื้นที่ ซึ่งมีการประสานงานกับเครือขายผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ระดับประเทศ (TNP+) เมื่อเครือขาย
               ทราบถึงกรณีดังกลาว ประธานเครือขายฯ ไดทดลองไปสมัครงานในบริษัทแหงนั้น เมื่อประสบปญหาเดียวกัน

               จึงมีการนัดหมายใหคณะอนุกรรมการคุมครองสิทธิ เขาไปทําความเขาใจกับเจาของกิจการ เมื่อเจาของกิจการ
               เขาใจวา การบังคับตรวจเลือด เปนการละเมิดสิทธิของผูติดเชื้อ ซึ่งผิดหลักกฎหมายหลายประการ เจาของ
               กิจการ จึงปรับเปลี่ยนนโยบาย ยกเลิกการบังคับตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวีในการจางงาน ซึ่งมีผลในการ
               กําหนดนโยบายการจางงานกับทุกสาขาในบริษัทดังกลาว แตในกรณีนี้ เจาของกิจการ ไมตองการ

               ประชาสัมพันธใหเปนที่โดดเดน เนื่องจากไมแนใจวา ถาเปนกรณีตัวอยางที่ชัดเจนแลว จะเปนผลดีตอบริษัท
               หรือไม

                       ที่มา: รวบรวมจากขอมูลจากประธานเครือขายผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส (ประเทศไทย) ในการสนทนากลุมในโครงการ
               หลายครั้ง ไดแก 14 มกราคม 2556,  1 มีนาคม 2556 และการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการวิเคราะหขอมูล 24 ตุลาคม
               2556 และขอมูลจากตัวแทนเจาของกิจการดังกลาวในการสนทนากลุมนายจางของโครงการ ในวันที่ 14 มีนาคม 2556


               กรณีศึกษาที่ 2 กรณีรานอาหาร

                       จากขอมูลกรณีศึกษาเรื่องถูกใหออกจากงานเพราะติดเชื้อเอชไอวี (ในบทที่ 3) ผูติดเชื้อไดรับความ

               ชวยเหลือจากเพื่อนของผูติดเชื้อดวยกัน แนะนําใหปรึกษาเจาหนาที่ในองคกรภาคประชาสังคม ซึ่งมีการสง
               ตอไปยังมูลนิธิศูนยคุมครองสิทธิดานเอดส (FAR) หลังไดรับเรื่องรองเรียน FAR  ไดสนับสนุนใหผูติดเชื้อไป
               รองเรียนที่สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ซึ่งตอมา กสม. ที่เกี่ยวกับสิทธิทางเศรษฐกิจ ไดนัด
               หมายใหมีการเจรจาเพื่อทําความเขาใจระหวางเจาของกิจการ และผูติดเชื้อ รวมถึงเจาหนาที่จาก FAR ซึ่งเปน

               พี่เลี้ยงของผูติดเชื้อดวย ในการเจรจา เจาของกิจการยอมรับวา ไมมีนโยบายเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อในองคกร
               แตการเลือกปฏิบัติที่เกิดขึ้น เกิดจากวิจารณญาณของผูจัดการสาขา ที่ขาดความเขาใจในเรื่องการแพรระบาด
               ของเชื้อเอชไอวี และสิทธิของผูติดเชื้อ หลังจากการทําความเขาใจ เจาของกิจการ ไดเสนอที่จะรับผูติดเชื้อเขา
               ทํางานตอไป

                       ขอมูลจาก: การสัมภาษณผูติดเชื้อ ผูใกลชิด และเจาหนาที่ FAR, วันที่ 27 พฤษภาคม 2556)



               4.3 บทวิเคราะหเรื่องกลไกในการดําเนินงานสงเสริมและคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ

                       จากขอมูลการดําเนินงานเรื่องการสงเสริมและการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ
               พอจะทําใหสรุปไดวา ในเรื่องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี ที่ผานมา
               กลไกในการสงเสริมสิทธิของผูติดเชื้อ ไมสามารถเขาถึงผูติดเชื้อในวงกวาง ในภาคเอกชน พบวากรณีการ

               รับรองมาตรฐาน ASO Thailand ที่ดูจะเปนกลไกหลักในการสงเสริมสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ ก็
               ยังมีขอจํากัดในการดําเนินงานที่เนนกลุมเปาหมายเฉพาะกลุมนายจางเปนหลัก ทําใหนายจางมีอํานาจตัดสินใจ
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97