Page 91 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 91

69


               เพื่อเขาไปทําความเขาใจเกี่ยวกับสิทธิของผูติดเชื้อ การแพรระบาดของโรค จนทําใหองคกรบางแหงมีการ
               ปรับเปลี่ยนนโยบายในการจางงาน โดยยกเลิกนโยบายในการเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อ (ดูรายละเอียดในลอม

               กรอบ)
                                                                                               170
                       นอกจากนี้ จากประสบการณในการดําเนินงานเพื่อคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวี  ซึ่งมูลนิธิ
               ศูนยคุมครองสิทธิดานเอดส (FAR) ไดรับทุนสนับสนุนจากหนวยงานระหวางประเทศที่เกี่ยวกับโรคเอดส ใหมา
               จัดทําโครงการเพื่อคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวีในป 2554  มีการดําเนินงานในระดับจังหวัด 7 แหงไดแก

               ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ชัยภูมิ พะเยา นาน นครสวรรคและลพบุรี แนวคิดหลักในการดําเนินงานคือการสราง
               กลไกการมีสวนรวมในระดับจังหวัดเพื่อแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติในการผูติดเชื้อ ซึ่งเริ่มตนจากการสรางเวที
               การมีสวนรวมในระดับจังหวัด เพื่อหาทางทางการสงเสริมคุมครองสิทธิดานเอดสโดยหนวยงานที่เขารวม
               ประกอบดวยหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ เชน อคช.จังหวัด สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

               สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (พม.จ.) และเครือขายภาคประชาสังคมในพื้นที่ ซึ่งหนวยงาน
               เหลานี้ มักเปนหนวยงานที่อยูภายใตกลไกอนุกรรมการปองกันและแกไขปญหาเอดสระดับจังหวัด หลังจากนั้น
               FAR  ก็ดําเนินการพัฒนาศักยภาพในการดําเนินงานของกลไก สนับสนุนใหมีการทําแผนปฏิบัติการและ
               ดําเนินการตามแผน ซึ่งประกอบดวย การรับเรื่องราวการรองทุกข การประชุมเปนระยะๆ และมีการสรุป

               บทเรียนเมื่อสิ้นสุดโครงการผลการดําเนินงาน พบวา จากระยะเวลาในการดําเนินงาน 8 เดือน คณะทํางาน
               ไดรับเรื่องรองเรียนมาทั้งหมด 47 เรื่อง และสําหรับปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพ สามารถแกไข
               ไดโดยการประสานงานกับนายจาง/หนวยงานเพื่อไปสรางความรูความเขาใจ ในเรื่องการแพรระบาดของผูติด

               เชื้อเอชไอวี สิทธิของผูติดเชื้อ โดยในหลายกรณี พบวา เปนการเลือกปฏิบัติดวยเหตุแหงการไมรู ทั้งไมรูสิทธิ
               ของผูติดเชื้อ และไมรูเรื่องการแพรระบาด และกลาวอางถึงขอกฎหมาย เพื่อใชเปนเงื่อนไขในการจํากัดสิทธิ
               ของผูติดเชื้อ เมื่อคณะทํางานลงไปทําความเขาใจ และสามารถแสดงขอเท็จจริงใหเห็นวา ไมมีขอกฎหมายที่
               จํากัดสิทธิดังกลาว ก็สามารถแกไขปญหาดังกลาวได แตผลสัมฤทธิในการแกไขปญหา มักจะจํากัดอยูเปนราย
               กรณีเทานั้น

                       อยางไรก็ดี แมวาโครงการจะมีผลในการเสริมพลังขององคกรที่ทํางานสงเสริมและคุมครองสิทธิของ
               ผูติดเชื้อที่เขาถึงกลุมเปาหมายในระดับพื้นที่ แตเมื่อการสนับสนุนงบประมาณสิ้นสุด โครงการก็จบลง เงื่อนไข
               นี้เปนหนึ่งในขอจํากัดที่สําคัญของการดําเนินงานขององคกรในภาคประชาสังคม ซึ่งมีทรัพยากรในการ

               ดําเนินงานจํากัด งบประมาณในการดําเนินงานจํานวนมาก ก็มาจากหนวยงานระหวางประเทศ ซึ่งมีแนวโนม
                                                                                                   171
               วา ในระยะตอไป จะใหการสนับสนุนนอยลงเรื่อยๆ รวมทั้งงบประมาณสนับสนุนในประเทศก็มีนอยลง  และ
               แมจะมีกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมระบบสุขภาพ (สสส.) ที่ใหความสําคัญกับการดําเนินงานเพื่อสราง
               สุขภาวะ แตแนวทางการสนับสนุน โครงการก็เปนการสนับสนุนระยะสั้น ไมตอเนื่อง นอกจากนั้น องคกรภาค

               ประชาสังคม ก็มีขีดจํากัดในการคุมครองสิทธิ เพราะขาดการยอมรับจากภาคราชการ และขาดอํานาจทาง
               กฎหมาย หลายเรื่องจึงเปนการดําเนินงานเพื่อสงตอใหหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบ อยางเชน สํานักงาน
               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ดําเนินงานตอ หรือจําเปนตองฟองรองเพื่อใหเกิดการดําเนินคดีตอไป






               170 ขอมูลจากผูอํานวยการมูลนิธิศูนยคุมครองสิทธิดานเอดส, การประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะหขอมูล, 24 ตุลาคม 2556
               171
                  คณะทํางานจับตานโยบายคณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชนดานเอดส (กพอ.), รายงานการวิเคราะหนโยบายการ
               ตอบสนองตอปญหาเอดสของประเทศไทยในมุมมองของภาคประชาสังคม ฉบับป พ.ศ. 2552,หนา 98.
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96