Page 67 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 67

45


               ตํารวจแหงชาติ ใหโอกาสแกบุคคลเหลานั้น โดยไมมีการตัดสิทธิ์ใหออกจากองคกรแตอยางใด พรอมทั้งใหการ
               ดูแลรักษา และใหปฏิบัติหนาที่ที่ไมตองสัมผัสเกี่ยวของกับประชาชน เพื่อเปนการปองกันการเผยแพรเชื้อโรค

               ไปสูผูอื่น
                       ดวยเหตุดังกลาว สํานักงานตํารวจแหงชาติ จึงยังคงกําหนดใหผูติดเชื้อเอชไอวี หรือโรคเอดส เปนโรค
               ตองหามในการสอบแขงขันเพื่อบรรจุและแตงตั้งเปนขาราชการตํารวจจนถึงปจจุบัน และจัดใหโรคเอดสอยูใน
               บัญชีโรคหรืออาการที่ไมควรเปนของตํารวจตาม ขอ 2 (14) แนบทายกฎ ก.ตร.วาดวยคุณสมบัติและลักษณะ
                                               96
               ตองหามของการเปนขาราชการตํารวจ และระบุในประกาศรับสมัครและสอบบรรจุขาราชการตํารวจเสมอๆ
               เชน การบรรจุและแตงตั้งเปนขาราชการตํารวจชั้นประทวน พ.ศ. 2553 หรือการประกาศรับสมัครและ
               คัดเลือกบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือ
                                                         97
               เทียบเทาเพื่อบรรจุเปนนักเรียนนายสิบ พ.ศ. 2555
                       สําหรับการรองเรียนของผูติดเชื้อในเรื่องดังกลาว ครั้งลาสุดปรากฏใน พ.ศ. 2553 เมื่อผูใกลชิดของผูที่
               มีพฤติกรรมเสี่ยงไดโทรศัพทมาปรึกษาที่มูลนิธิศูนยคุมครองสิทธิดานเอดส แตผูรองเรียนไมกลารองเรียน
               เพราะเกรงวาจะตองเปดเผยตนเอง
                       นอกจากระเบียบที่มีลักษณะการเลือกปฏิบัติของผูติดเชื้อใน 2 หนวยงานนี้แลว ยังพบวา มีปญหาการ

               เลือกปฏิบัติในอีกหลายองคกร เชน กฎกระทรวง ฉบับที่ 37 (พ.ศ.2516) ออกตามความในพระราชบัญญัติรับ
               ราชการทหาร พ.ศ.2497ในขอ 3 ที่กําหนดเรื่องการตรวจรางกาย โดยจําพวกที่ 3 เปนคนซึ่งมีรางกายยังไม
               แข็งแรงพอที่จะรับราชการทหารในขณะนั้นได เพราะปวยซึ่งจะบําบัดใหหายภายในกําหนด 30 วันไมได

                       (3) การบังคับตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวีในผูที่ตองการอุปสมบท เรื่องนี้มีการรองเรียนมายัง
               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และมีความพยายามแกไขปญหาดังกลาว โดยการประชุมรวมกันระหวาง
               ตัวแทนของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและมหาเถรสมาคมตั้งแต พ.ศ. 2549 แตมหาเถร
               สมาคมก็ยังยืนยันแนวทางดังกลาว โดยใหเหตุผลวา “การที่จะใหกฎหมายมาลบลางพุทธบัญญัติซึ่ง
               พระพุทธเจาทรงบัญญัติไวแลวในสมัยพุทธกาล คงไมถูกตอง หากผูเขามาบวชเปนเอดสกันจํานวนมาก คงจะ

               ไมสมควรอยางยิ่ง คณะสงฆใหสิทธิแกพระอุปชฌายที่จะใหการบรรพชาอุปสมบทแกบุคคล จําตองพิจารณา
               อยางรอบคอบ หากปลอยใหผูติดเชื้อเอดสเขามาบวชโดยไมตรวจสอบกอน จะทําใหคนในสังคมเขาใจวา ผูบวช
                                              98
               รับเชื้อเอดสหลังจากบวชพระแลว”  อยางไรก็ดี ในทางปฏิบัติ วัดบางแหงก็มีขอกําหนดชัดเจนและมีการ
               บังคับใชอยางเครงครัด เชน “โครงการอุปสมบทหมู 100,000  รูปทุกหมูบานทั่วไทย” ที่คณะกรรมาธิการ
               ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม รวมกับคณะสงฆทั่วประเทศ วัดพระธรรมกาย มูลนิธิธรรมกายและชมรม
               พุทธศาสตรสากลในอุปถัมภสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารยจัดขึ้น ก็มีขอกําหนดใหผูที่จะเขาอุปสมบทใน












               96
                 กฎ ก.ตร.วาดวยคุณสมบัติและลักษณะตองหามของการเปนขาราชการตํารวจ พ.ศ.2547 ประกาศวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ.
               2547 และปรากฏอยูในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 121 ตอนที่ 62 ก (28 กันยายน 2547)
               97
                 ประกาศกองบัญชาการศึกษา วันที 2 เมษายน พ.ศ.2555 [online] available from
               http://www.policeadmission.com
               98 มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ 8/2549 มติที่ 156/2549 [online] available from
               http://www.mahathera.org/uploaded_pdf/CCF01092551_00052.pdf
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72