Page 65 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 65

43


               ผูติดเชื้ออีกจํานวนมากเลือกที่จะไมรองเรียน โดยมีเหตุผลสําคัญวาเปนเพราะไมมีความเชื่อมั่น หรือเชื่อมั่น
               นอยวากระบวนการรองเรียนจะทําใหเกิดการแกไขปญหา และอีกสวนหนึ่งมองวา กระบวนการรองเรียนมี

               ขั้นตอนยุงยากและเชื่องชามากเกินไป
                       ในดานหนึ่ง งานวิจัยฉบับนี้อาจจะแสดงใหเห็นแนวโนมที่ดีขึ้นของสภาวะการเลือกปฏิบัติในการ
               ประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี แตในอีกดานหนึ่ง ขอมูลดังกลาวก็ยังยืนยันวาสถานการณการเลือกปฏิบัติ
               ในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวียังดํารงอยูในสังคมไทย


                       3.1.2  สภาพปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีรายกรณี

                       สําหรับการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี ขอมูลไดมาจากการทบทวนเอกสาร
               ชั้นตน รวมทั้งหนังสือรองเรียน หนังสือชี้แจงจากหนวยราชการและรายงานผลการดําเนินงานของ
               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ โดยมีกรณีที่สําคัญ 3 กรณีดังนี้

                       (1) การเลือกปฏิบัติในฝายขาราชการตุลาการ ปรากฏในระเบียบคณะกรรมการตุลาการศาล
               ยุติธรรม วาดวย โรคอันมีลักษณะตองหามที่จะเปนขาราชการตุลาการ พ.ศ. 2545 เปนระเบียบที่ออกตาม
               ระเบียบคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม วาดวยหลักเกณฑและวิธีการตรวจสอบคุณสมบัติของผูสมัครสอบ
               คัดเลือก ผูสมัครทดสอบความรู หรือผูสมัครเขารับการคัดเลือกพิเศษ เพื่อบรรจุเปนขาราชการตุลาการใน

               ตําแหนงผูชวยผูพิพากษา พ.ศ. 2545 ระเบียบทั้งสองฉบับ ประกาศใช ณ วันที่ 10 มกราคม 2545 กําหนด
               เงื่อนไขเรื่องโรคอันมีลักษณะตองหามที่จะเปนขาราชการตุลาการ แมมิไดกําหนดเรื่องโรคเอดสไวโดยแจงชัด
               แตตามระเบียบขอ 3(6) ไดกําหนดเรื่องโรคติดตอที่เปนเหตุใหไมเหมาะสมที่จะเปนขาราชการตุลาการซึ่งอาจมี
               การใชดุลพินิจหรือการปฏิบัติอันเปนการรังเกียจหรือเลือกปฏิบัติเนื่องจากเอดสได

                       ในกรณีนี้ ศูนยคุมครองสิทธิดานเอดส เคยทําหนังสือถึงประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เพื่อ
               ขอใหตรวจสอบและดําเนินการยกเลิกระเบียบปฏิบัติดังกลาว โดยอางถึงการรองทุกขเกี่ยวกับหนวยงานของรัฐ
               ที่มีระเบียบปฏิบัติที่มีลักษณะเลือกปฏิบัติ และละเมิดสิทธิมนุษยชนของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส โดยมีการบังคับ

               ตรวจเอดสผูสมัครเขารับราชการในตําแหนงอัยการผูชวยและผูชวยผูพิพากษา หากพบวา ผูสมัครสอบรายใด
                                                                      90
               ติดเชื้อเอชไอวีจะไมไดรับสิทธิใหเขาสอบเพื่อดํารงตําแหนงดังกลาว  ซึ่งนาสนใจวา ในกรณีของอัยการผูชวย
               สํานักงานอัยการสูงสุดไดทําหนังสือถึงประธานคณะกรรมการมูลนิธิศูนยคุมครองสิทธิดานเอดสวา ตาม
               กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2504)  ออกตามความในพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการฝายอัยการ พ.ศ.
               2503 วาดวยโรคและประกาศคณะกรรมการอัยการเรื่อง กําหนดโรคอันมีลักษณะตองหามที่จะเปนขาราชการ

               อัยการ พ.ศ.2555 แมจะมีขอกําหนดถึง “โรคติดตอที่เปนเหตุใหไมเหมาะสมที่จะเปนขาราชการอัยการ” แตก็
               มิไดมีขอกําหนดใหผูที่มีเชื้อเอชไอวี เปนหรือถือวาเปนโรคอันมีลักษณะตองหามที่จะเปนขาราชการอัยการ
                                                                                           91
               สํานักงานอัยการสูงสุดจึงไมเคยมีนโยบายตรวจหาเชื้อเอชไอวีในผูสมัครสอบอัยการผูชวย  ในขณะที่กรณี
               ผูชวยผูพิพากษายังไมมีความคืบหนาอยางชัดเจน อยางไรก็ดี ในกรณีของผูชวยผูพิพากษานี้ อาจพิจารณา
               เทียบเคียงจากบรรทัดฐานของกรณีตัวอยางที่มีลักษณะใกลเคียงกันได กลาวคือ เปนกรณีที่สํานักงาน
               ผูตรวจการแผนดินเคยเสนอใหศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 245  (1) วา
               พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มาตรา 26 วรรคหนึ่ง (10) มีปญหา

               เกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญมาตรา 30 ในเรื่องการเลือกปฏิบัติตอคนพิการ ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย



               90 หนังสือ ศคส. 047/2550 วันที่ 23 กรกฏาคม 2550
               91 หนังสือ อส 0003 (คก2)/3287 วันที่ 12 ตุลาคม 2555
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70