Page 66 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 66
44
วา ขอกําหนดดังกลาว เฉพาะในสวนบัญญัติที่วา “มีกายหรือจิตใจไมเหมาะสมที่จะเปนขาราชการตุลาการ...”
92
ขัดหรือแยงกับรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 วรรคสาม
(2) การเลือกปฏิบัติในขาราชการตํารวจ ปรากฏในระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติวาดวยเรื่อง
รับสมัครและสอบแขงขันบุคคลภายนอกผูมีวุฒิปริญญาตรี เพื่อบรรจุและแตงตั้งเปนขาราชการตํารวจชั้น
ประทวน ระบุวา ผูสมัครสอบตองมีคุณสมบัติทั่วไปและไมมีลักษณะตองหามตามประกาศซึ่งไดระบุโรค
ตองหามไวหลายโรค หนึ่งในจํานวนหลายโรคคือโรคเอดส (ขอ 11.8.5)
โดยในกรณีดังกลาว ศูนยคุมครองสิทธิดานเอดส เคยทําหนังสือถึงประธานกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหงชาติ เรื่อง ขอใหตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนกรณีสํานักงานตํารวจแหงชาติบังคับใหมีการตรวจ
เอดสผูสมัครสอบเพื่อบรรจุและแตงตั้งเปนขาราชการตํารวจชั้นประทวน เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2551 โดยอาง
จากการประกาศจากกองบัญชาการศึกษาที่มีการระบุคุณสมบัติตองหามในผนวก ข. ทายประกาศ ลงวันที่ 23
มกราคม 2551 วา ผูที่มีสิทธิสอบจะตองไมเปนโรคติดเชื้อ หรือโรคที่เกิดจากปาราสิต โดยนอกจากโรคเรื้อน
โรคเทาชางในระยะที่ปรากฏอาการเปนที่นารังเกียจของสังคม โรคคุดทะราดหรือรองพื้น (YAWS) โรคติดเชื้อ
93
เรื้อรังระยะแสดงอาการรุนแรง ซึ่งไมสามารถรักษาใหหายขาดได และโรคเอดส
เมื่อคณะอนุกรรมการดานสงเสริมโอกาสและเสมอภาค คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติทํา
94
หนังสือถึงกองบัญชาการการศึกษาสํานักงานตํารวจแหงชาติ เพื่อขอทราบนโยบาย ระเบียบ กฎหมายและ
มาตรการการดําเนินงานของกองบัญชาการการศึกษา สํานักงานตํารวจแหงชาติ ในสวนที่เกี่ยวของกับการรับ
สมัครสอบบุคคลเพื่อบรรจุและแตงตั้งเปนขาราชการตํารวจ รวมทั้งความเห็นในกรณีดังกลาว ผูบังคับการกอง
การสอบ กองบัญชาการศึกษา สํานักงานตํารวจแหงชาติ ไดทําหนังสือยืนยันวามาตรการดังกลาว ไมถือเปน
95
การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรม โดยอางตามมาตรา 48 แหงพระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ พ.ศ. 2547
และ กฎ ก.ตร.วาดวยคุณสมบัติและลักษณะตองหามของการเปนขาราชการตํารวจ พ.ศ.2547 และ กฎ ก.ตร.
วาดวยคุณสมบัติลักษณะตองหามของการเปนขาราชการตํารวจ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2549 ซึ่งเปนไปตาม
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 30 วรรคสุดทาย ที่กําหนดวา “มาตรการที่รัฐ
กําหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือสงเสริมใหบุคคลสามารถใชสิทธิและเสรีภาพไดเชนเดียวกับบุคคลอื่น ยอมไม
ถือเปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรม ตามวรรค 3”
นอกจากนี้ ยังใหเหตุผลในการยืนยันตามมาตรการเดิมวา เนื่องมาจากภารกิจของขาราชการตํารวจ
เปนภารกิจที่แตกตางจากหนวยงานอื่นๆ การรับบุคคลภายนอกที่เปนโรคเอดสเขามาปฏิบัติหนาที่ อาจสงผล
กระทบตอสังคมสวนรวม เพราะการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจ รวมทั้งการฝกอบรม จะตองเกี่ยวของกับ
ประชาชนและเพื่อนรวมงาน เชน กรณีไปชวยเหลือผูประสบอุบัติเหตุ หากผูที่ไปชวยเหลือมีเชื้อเอชไอวี (บวก)
อาจจะทําใหผูประสบอุบัติเหตุนั้นติดเชื้อได หรือในการฝกอบรมศิลปะการตอสูปองกันตัว การปะทะกันอาจทํา
ใหมีเลือดออก ซึ่งก็อาจทําใหไดรับเชื้อจากผูปวย นอกจากนั้น การปฏิบัติหนาที่ดานการปองกันปราบปราม ก็
จะตองเปนผูที่มีรางกายสมบูรณ แข็งแรง จึงจะสามารถตอสูจับกุมผูกระทําความผิดได และก็จะเปนที่เกรงกลัว
ของผูกระทําความผิดไดสําหรับกรณีขาราชการตํารวจที่ติดเชื้อเอชไอวีภายหลังการรับราชการนั้น สํานักงาน
92
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ที่ 15/2555 เรื่องพิจารณาที่ 30/2553 วันที่ 13 มิถุนายน 2555 [online] available from
http://www.constitutionalcourt.or.th/index.php?option=com_docman&task=cat_view&gid=495&Itemid=94
&lang=th&limitstart=10
93
หนังสือ ศคส. 022/2551 วันที่ 11 เมษายน 2551
94 หนังสือ สม 0001.04/1802 วันที่ 2 ตุลาคม 2551
95 หนังสือ ตช 0036.312/3162 วันที่ 21 ตุลาคม 2551