Page 43 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 43

34


                  และกรรมการอื่นอีกหกคน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภาจากผูซึ่งมีความรูหรือ
                  ประสบการณดานการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเปนที่ประจักษ โดยมีอํานาจหนาที่ตามรัฐธรรมนูญแหง

                  ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550  มาตรา 257  และพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                  พ.ศ. 2542 มาตรา 15 ดังตอไปนี้

                         (1) สงเสริมการเคารพและการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนทั้งในระดับประเทศและระหวางประเทศ

                         (2) ตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือการละเลยการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือ
                  อันไมเปนไปตามพันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเปนภาคี และเสนอมาตรการ
                  การแกไขที่เหมาะสมตอบุคคลหรือหนวยงานที่กระทําหรือละเลยการกระทําดังกลาวเพื่อดําเนินการ ในกรณีที่

                  ปรากฏวาไมมีการดําเนินการตามที่เสนอใหรายงานตอรัฐสภาเพื่อดําเนินการตอไป

                         (3)  เสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผูรองเรียนวา
                  บทบัญญัติแหงกฎหมายใดกระทบตอสิทธิมนุษยชนและมีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ ตาม
                  พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ

                         (4) เสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลปกครอง ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผูรองเรียนวากฎ คําสั่ง
                  หรือการกระทําอื่นใดในทางปกครองกระทบตอสิทธิมนุษยชนและมีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญ

                  หรือกฎหมาย ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง

                         (5) เสนอแนะนโยบายและขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับตอรัฐสภาและ
                  คณะรัฐมนตรีเพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน

                         (6) สงเสริมการศึกษา การวิจัย และการเผยแพรความรูดานสิทธิมนุษยชน

                         (7) สงเสริมความรวมมือและการประสานงานระหวางหนวยราชการ องคการเอกชน และองคการอื่น
                  ในดานสิทธิมนุษยชน

                         (8) จัดทํารายงานประจําปเพื่อประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนภายในประเทศเสนอตอรัฐสภา

                  และคณะรัฐมนตรีและเปดเผยตอสาธารณชน
                         (9) ประเมินผลและจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงานประจําปเสนอตอรัฐสภา


                         (10) เสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาในกรณีที่ประเทศไทยจะเขาเปนภาคีสนธิสัญญา
                  เกี่ยวกับการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน

                         (11) แตงตั้งอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการมอบหมาย

                         (12) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นซึ่งกําหนดใหเปนอํานาจ
                  หนาที่ของคณะกรรมการ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48