Page 48 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 48

39



                    ป (พ.ศ.)                                 Modern Trade

                      2534      หางสรรพสินคา พิริยะพูล  หางเดอะมอลล(งามวงศวาน)  หางรวมทุนพัฒนาพลาซา

                                หางเมโทรโปลิส อาเขต

                      2535      หางรามอินทรา พลาซา  หางเดอะบิลเลี่ยนพลาซา  หางโมเดิรนยูนิตี้

                                หาง ส.จิราพลาส หางโรบินสัน (บางแค)

                      2536      หางโรบินสัน (ศรีนครินทร)  หางเซ็นทรัล (รามอินทรา) หางเซ็นทรัล (บางนา)

                      2537      หางเดอะมอลล (บางกะป)

                      2539      หางเอ็มโพเรียม

                      2540      หางเซ็นทรัล (พระราม 3)

                  แหลงที่มา  รายงานทิศทางเศรษฐกิจ และการคาไทย : ภาคการคาภายในประเทศ โดยนิพนธ พัวพงศธร และ

                  สุมนา ตั้งจิตวิสุทธิ์


                         จากขอมูลของฝายวิจัยธนาคารกรุงศรีอยุธยา พบวา การแบงมูลคาทางการตลาดในชวงกอน
                  ป พ.ศ. 2540 ธุรกิจคาปลีกดั้งเดิมมีอยูถึงประมาณ 60 - 70 เปอรเซ็นต สวนหางสรรพสินคาทั้งหลาย (รานคา
                  ปลีกสมัยใหม) มีประมาณ 30 - 40 เปอรเซ็นต

                         4) พ.ศ.2540 - 2545 เปนยุคกาวกระโดดของหางไฮเปอรมารเก็ตจากตางชาติ

                         นับจากป พ.ศ. 2540 - ปจจุบัน หางไฮเปอรมารเก็ตจากตางชาติขยายกิจการอยางรวดเร็วและรุนแรง

                  สาเหตุกลาวกันวาเปนชวงเวลาดังกลาวประเทศไทยเกิดปญหาวิกฤติเศรษฐกิจ จึงทําใหกลุมทุนไทยประสบ
                                                                   4
                  ปญหาหนี้สินอยางรุนแรงจึงตองขายหุนใหแกบรรษัทขามชาติ 3  และรัฐตองกระตุนเศรษฐกิจโดยอาศัยมาตรการ
                  สงเสริมการลงทุนและลดขอจํากัดในการลงทุน เชน การยกเลิกประกาศคณะปฏิวัติที่ 281 (ปว.281) โดยไดตรา

                  พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ. 2542  มาใชบังคับแทน เนื่องจากตองการเงินทุนจาก
                  ตางประเทศเขามาฟนฟูระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ ซึ่งเปนโอกาสใหธุรกิจที่เคยผูกขาดกลุมทุนไทยตกไปอยู
                  ในมือกลุมทุนตางชาติแทน กลาวคือ

                        หางบิ๊กซี


                         เดิมหางบิ๊กซี มีเจาของกิจการเปนกลุมธุรกิจคาปลีกในเครือเซ็นทรัล และในป พ.ศ. 2542 บริษัท Casino
                  Guichard-Perrachon กลุมทุนคาปลีกประเทศฝรั่งเศส ไดเขามาเพิ่มทุนและกลายเปนผูถือหุนใหญ
                                                                     5
                        ขอมูลจากเว็ปไซตทางการของหางบิ๊กซี (นักลงทุนสัมพันธ)  ไดใหขอมูลวา “...บริษัท บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร
                  จํากัด (มหาชน)  ประกอบกิจการในประเทศไทย โดยดําเนินธุรกิจในรูปแบบของ “ไฮเปอรมารเก็ต”  หรือ



                  4
                    วีระยุทธ กาญจนชูฉัตร, สองนคราคาปลีกไทย, การตอสูของทุนไทย 2 การเมือง วัฒนธรรม เพื่อความอยู
                  รอด, พ.ศ. 2549, หนา 217.
                  5
                    ขอมูลจาก www.bigc.co.th/ir/investor_th.html
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53