Page 40 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 40

31


                         มาตรา 27 สิทธิและเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไวโดยชัดแจง โดยปริยายหรือโดยคําวินิจฉัยของศาล
                  รัฐธรรมนูญ ยอมไดรับความคุมครองและผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองคกรตามรัฐธรรมนูญและ

                  หนวยงานของรัฐโดยตรงในการตรากฎหมาย การใชบังคับกฎหมาย และการตีความกฎหมายทั้งปวง


                         2) รัฐธรรมนูญเปนเครื่องมือในการคุมครองสิทธิมนุษยชน
                         การอางหลักสิทธิมนุษยชนเปนขอตอสูทางศาล


                         มาตรา 28 บุคคลยอมอางศักดิ์ศรีความเปนมนุษยหรือใชสิทธิและเสรีภาพของตนไดเทาที่ไมละเมิดสิทธิ
                  และเสรีภาพของบุคคลอื่น ไมเปนปฏิปกษตอรัฐธรรมนูญ หรือไมขัดตอศีลธรรมอันดีของประชาชน

                         บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว สามารถยกบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้
                  เพื่อใชสิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเปนขอตอสูคดีในศาลได

                         บุคคลยอมสามารถใชสิทธิทางศาลเพื่อบังคับใหรัฐตองปฏิบัติตามบทบัญญัติในหมวดนี้ไดโดยตรง หาก
                  การใชสิทธิและเสรีภาพในเรื่องใดมีกฎหมายบัญญัติรายละเอียดแหงการใชสิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญนี้
                  รับรองไวแลว ใหการใชสิทธิและเสรีภาพในเรื่องนั้นเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ


                         บุคคลยอมมีสิทธิไดรับการสงเสริม สนับสนุน และชวยเหลือจากรัฐ ในการใชสิทธิตามความในหมวดนี้

                         3) เนื้อหาแหงสิทธิมนุษยชน


                         รัฐธรรมนูญไดบัญญัติไวตามมาตรา 30 - 69 มีปรากฏทั้งในสิทธิพลเมือง สิทธิทางการเมือง และสิทธิ
                  ทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ซึ่งในสวนของสิทธิทางเศรษฐกิจของปจเจกชนเรื่อง “เสรีภาพในการ
                  ประกอบอาชีพและการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม” มาตรา 43 ไดบัญญัติรับรองเสรีภาพในการประกอบ
                  กิจการหรือประกอบอาชีพและการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม ซึ่งวรรคสองบัญญัติถึงการจํากัดเสรีภาพจะ
                  กระทํามิได เวนแตเพื่อประโยชนในการรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศ การคุมครอง

                  ประชาชนในดานสาธารณูปโภค การรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การจัดระเบียบ
                  การประกอบอาชีพ การคุมครองผูบริโภค การผังเมือง การรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอม สวัสดิภาพ
                  ของประชาชน หรือเพื่อปองกันการผูกขาดหรือขจัดความไมเปนธรรมในการแขงขัน


                         4) ภารกิจของรัฐตามแนวนโยบายดานเศรษฐกิจ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

                                   ก. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

                                      มาตรา 83 รัฐตองสงเสริมและสนับสนุนใหมีการดําเนินการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ
                  พอเพียง


                                   ข. นโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ
                                      มาตรา 84 รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานเศรษฐกิจ ดังตอไปนี้
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45