Page 39 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 39

30


                  สิทธิรวมกลุมกอตั้งสหภาพแรงงานและเขารวมสหภาพแรงงาน สิทธิที่จะไดรับการประกันสังคม สิทธิครอบครัว
                  สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอ สิทธิที่จะมีมาตรฐานแหงสุขภาพที่ดี สิทธิในการศึกษา สิทธิทางดาน

                  วัฒนธรรมมีปรากฏตามขอ 22-27 ในปฏิญญาสากลฯ และกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ
                  สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights)

                         2.4.3 ปฏิญญาวาดวยสิทธิในการพัฒนา


                         สหประชาชาติไดใหความสําคัญกับเรื่องสิทธิมนุษยชนกับการพัฒนา โดยมีการกําหนดปฏิญญาวาดวย
                  สิทธิในการพัฒนา (Declaration on the Rights to Development) มีการรับรองโดยสมัชชาใหญสหประชาชาติ
                  ตั้งแตวันที่ 4  ธันวาคม 2529  โดยถือหลักการวา “รัฐตองตระหนักและใหความสําคัญตอการพัฒนามนุษย

                  เปนศูนยกลางของการพัฒนาประเทศ” และ “รัฐมีหนาที่กระจายผลประโยชนที่เทาเทียมกัน” รวมถึง “การพัฒนา
                  ใหเกิดความเปนอยูที่ดีของประชาชนบนพื้นฐานของการมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศ” ดังนั้น
                  การดําเนินการเพื่อการพัฒนาประเทศของภาครัฐตองยึดมั่นตอเรื่องตางๆ โดยมีรายละเอียดดังนี้

                         มนุษยเปนศูนยกลางในการพัฒนา และควรเปนผูมีสวนรวมและเปนผูรับประโยชนจากสิทธิ
                  ในการพัฒนา โดยมนุษยควรไดรับการคุมครองจากระเบียบทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจที่เหมาะสมตอ

                  การพัฒนา  และภาครัฐมีหนาที่ในการกําหนดนโยบายการพัฒนาที่เหมาะสมที่มุงใหเกิดประโยชนในการปรับปรุง
                  คุณภาพชีวิตของประชาชน บนพื้นฐานการมีสวนรวมและประชาชนไดรับความคุมครองตอการกระจายผลประโยชน
                  ที่เกิดขึ้นอยางเปนธรรม

                         ภาครัฐตองประกันในเรื่องของโอกาสที่เทาเทียมกันสําหรับประชาชนทุกคนในการเขาถึงทรัพยากร
                  พื้นฐาน การศึกษา การบริการสาธารณสุข อาหาร ที่อยูอาศัย การจางงานและการกระจายรายไดที่เปนธรรม

                  ภาครัฐ มีหนาที่ในการใหประกันการพัฒนาและขจัดอุปสรรคการพัฒนา ตองตระหนักถึงการสงเสริมระเบียบ
                  เศรษฐกิจใหมบนพื้นฐานความเสมอภาคเทาเทียมกันการพึ่งพากันและกัน ผลประโยชนรวมกัน และการรวมมือ
                  ระหวางรัฐทั้งปวง รวมทั้งในลักษณะ สนับสนุนใหปฏิบัติตามและใหเกิดสัมฤทธิ์ผลในบรรดาสิทธิมนุษยชน


                         2.4.4 ประเทศไทยกับการคุมครองสิทธิมนุษยชน

                         รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มีบทบัญญัติที่เกี่ยวกับการคุมครองสิทธิมนุษยชน
                                                                                                     13
                  ไววา “ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล ยอมไดรับความคุมครอง”12

                         1) กระบวนทัศนระบบราชการแบบใหมที่มีตอการเคารพหลักสิทธิมนุษยชน

                         การใชอํานาจอธิปไตยตองคํานึงถึงหลักสิทธิมนุษยชน

                         มาตรา 26 การใชอํานาจโดยองคกรของรัฐทุกองคกร ตองคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิและ
                  เสรีภาพ ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้


                  13
                     รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 4
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44