Page 42 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 42

33


                                        (13)  สงเสริมและสนับสนุนองคกรภาคเอกชนทางเศรษฐกิจทั้งในระดับชาติ และ
                  ระดับทองถิ่นใหมีความเขมแข็ง

                                        (14) สงเสริมอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เพื่อใหเกิดมูลคาเพิ่มในทาง

                  เศรษฐกิจ

                                   ค. นโยบายดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

                                    มาตรา 85 รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และ
                  สิ่งแวดลอม ดังตอไปนี้

                                        (1)  กําหนดหลักเกณฑการใชที่ดินใหครอบคลุมทั่วประเทศ โดยใหคํานึงถึงความ
                  สอดคลองกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ทั้งผืนดิน ผืนน้ํา วิถีชีวิตของชุมชนทองถิ่นและการดูแลรักษา
                  ทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ และกําหนดมาตรฐานการใชที่ดินอยางยั่งยืน โดยตองใหประชาชน

                  ในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากหลักเกณฑการใชที่ดินนั้นมีสวนรวมในการตัดสินใจดวย

                                        (2) กระจายการถือครองที่ดินอยางเปนธรรมและดําเนินการใหเกษตรกรมีกรรมสิทธิ์
                  หรือสิทธิในที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมอยางทั่วถึงโดยการปฏิรูปที่ดินหรือวิธีอื่น รวมทั้งจัดหาแหลงน้ําเพื่อให
                  เกษตรกรมีน้ําใชอยางพอเพียงและเหมาะสมแกการเกษตร

                                        (3)  จัดใหมีการวางผังเมือง พัฒนาและดําเนินการตามผังเมืองอยางมีประสิทธิภาพและ
                  ประสิทธิผล เพื่อประโยชนในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน


                                        (4) จัดใหมีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและทรัพยากรธรรมชาติอื่นอยางเปน
                  ระบบและเกิดประโยชนตอสวนรวม ทั้งตองใหประชาชนมีสวนรวมในการสงวน บํารุงรักษา และใชประโยชน
                  จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอยางสมดุล

                                        (5)  สงเสริม บํารุงรักษา และคุมครองคุณภาพสิ่งแวดลอมตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน
                  ตลอดจนควบคุมและกําจัดภาวะมลพิษที่มีผลตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน โดย

                  ประชาชน ชุมชนทองถิ่น และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตองมีสวนรวมในการกําหนดแนวทางการดําเนินงาน
                         จากหลักคิดดังที่กลาวมาขางตนมีผลทําใหกระบวนทัศนของรัฐที่มีตอการพัฒนาประเทศตองมีการ

                  ปรับเปลี่ยนเปนอยางมาก ประการแรกการใหความสําคัญกับคุณภาพและสิ่งที่มีคุณคาตอสังคม (ประชาชน)
                  ประการตอมาการตระหนักถึงความรับผิดชอบตอสิ่งที่มีคุณคาทางสังคม ประการสุดทายการใหความสําคัญของ
                  ประชาชนในการมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาประเทศ โดยมุงเนนบทบาทของภาครัฐในการทําหนาที่เปน

                  ผูสงเสริมและสนับสนุน (Promoter  and  Supporter)  ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยมีศักดิ์ศรี
                  ความเปนมนุษย สิทธิมนุษยชน และความเสมอภาคของบุคคลเปนศูนยกลางอันนําไปสูการกําหนดแนวทางในการ
                  พัฒนาประเทศ


                         5) อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน


                         รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไดกําหนดใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                  เปนองคกรอื่นตามรัฐธรรมนูญ โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ประกอบดวย ประธานกรรมการคนหนึ่ง
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47