Page 38 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 38

29


                         2.4.2 ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน


                         ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Universal  Declaration  of  Human  Rights,  UDHR)  เปน
                  เอกสารสิทธิมนุษยชนที่สําคัญฉบับหนึ่งของโลก ปณิธานสูงสุดของสามัญชนที่ตองการมีชีวิตอยางอิสรภาพใน
                  การพูดและความเชื่อถือ อิสรภาพพนจากความหวาดกลัวและความตองการ

                         ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนนี้ เปนมาตรฐานรวมกันแหงความสําเร็จสําหรับบรรดาพลเมืองและ
                  ประชาชาติ เพื่อจุดหมายปลายทางที่วาปจเจกชนและองคการของสังคมทุกองคการ โดยการรําลึกเสมอถึง

                  ปฏิญญานี้ จะบากบั่นพยายามดวยการสอนและศึกษา ในอันที่จะสงเสริมการเคารพสิทธิและเสรีภาพเหลานี้
                  และดวยการดําเนินมาตรการที่กาวหนาทั้งในประเทศและระหวางประเทศในอันที่จะใหมีการยอมรับนับถือ และ
                  การปฏิบัติตามโดยสากลและอยางเปนผลจริงจัง ทั้งในบรรดาประชาชนของรัฐสมาชิกดวยกันเอง และในบรรดา
                  ประชาชนของดินแดนที่อยูใตอํานาจของรัฐนั้น

                         เนื้อหาทั้งหมดมี 30 ขอ แบงเปน 3 สวน ไดแก (1) หลักการทั่วไป (2) สิทธิพลเมืองและสิทธิทาง
                  การเมือง และ (3) สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

                         1) หลักการทั่วไป คือ รากฐานหลักคิดเพื่อแสดงใหเห็นถึงเจตนารมณของปฏิญญาฯ อันมีผลสําคัญตอ
                  การตีความเพื่อปรับใช มีดังตอไปนี้

                                (1) หลักอิสรภาพและความเทาเทียมกัน  มนุษยทั้งหลายเกิดมาอิสรภาพและเทาเทียมกันทั้ง
                  ศักดิ์ศรีและสิทธิ ทุกคนไดรับการประสิทธิประสาทเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติตอกันอยางฉันพี่นอง


                                (2) หลักไมเลือกปฏิบัติ  บุคคลชอบที่จะมีสิทธิและเสรีภาพบรรดาที่ระบุไวในปฏิญญานี้ ทั้งนี้
                  โดยไมมีการจําแนกความแตกตางในเรื่องใดๆ เชน เชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง
                  หรือทางอื่น ชาติพันธุหรือสังคมอันเปนที่มาเดิม ทรัพยสิน กําเนิด หรือสถานะอื่น

                                (3) หลักการเคารพตอสิทธิมนุษยชน บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะมีระเบียบทางสังคมและระหวาง
                  ประเทศที่จะเกื้อกูลใหการใชสิทธิและเสรีภาพบรรดาที่ไดระบุในปฏิญญานี้บรรลุอยางสมบูรณ และในการมีสิทธิ

                  และเสรีภาพบุคคลทุกคนตองอยูในบังคับของขอจํากัดเพียงเทาที่ถูกกําหนดโดยกฎหมายเทานั้น เพื่อความมุง
                  ประสงคใหไดมาซึ่งการยอมรับและการเคารพตอสิทธิเสรีภาพของผูอื่น และเพื่อใหสอดคลองกับขอกําหนด
                  อันยุติธรรมเรื่องการรักษาความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชนในสังคม

                                หามแปลความหรือตีความอยางใดๆ เพื่อมุงตอการทําลายสิทธิและเสรีภาพของพลเมือง
                  ที่ไดรับรองไวในปฏิญญาสากลฯนี้

                         2) สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง คือ สิทธิที่จําเปนตอหลักประกันในดานสิทธิของประชาชนที่จะ

                  มีชีวิตอยูไดโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติที่ไมเปนธรรม การทรมานทารุณกรรมหรือการถูกลงโทษ ลวงละเมิด
                  ดวยวิธีการใดๆ ภายใตรัฐบาลใดๆ ซึ่งจะตองเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในทางการเมือง มีเสรีภาพในการ
                  แสดงความคิดเห็น มีปรากฏตามขอ 3-21 ในปฏิญญาสากลฯและกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและ
                  สิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights)

                         3) สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม คือ สิทธิที่มีมาแตภายหลังเพื่อสงเสริมและเปน

                  หลักประกันตอคุณภาพชีวิตของมนุษย เชน สิทธิในการทํางาน สิทธิที่จะมีสภาวะการทํางานที่ยุติธรรม
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43