Page 37 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 37

28



                       ป พ.ศ.        นโยบายทางสังคม          นโยบายดานเศรษฐกิจ          นโยบายดานสิ่งแวดลอม

                  พ.ศ. 2544-ปจจุบัน  1. ลดปญหาการ     1. นโยบายดานเศรษฐกิจเสรี         1. การอนุรักษและฟนฟู

                  จากสังคม           เหลื่อมล้ําในสังคม   2. การปฏิรูปกฎหมายเพื่อรองรับ   ทรัพยากรธรรมชาติที่
                  เกษตรกรรม (สู)    2. การศึกษา        นโยบายทางเศรษฐกิจ                 เสื่อมโทรม

                  ประเทศ             3. การสาธารณสุข    3. การลงทุนและการพัฒนาดาน        2. หลักการผูกอมลพิษตอง
                  อุตสาหกรรมใหม                        อุตสาหกรรมใหม                    รับผิดชอบ
                                     4. การคุมครอง

                                     ผูบริโภค          4. การปรับปรุงระบบโลจิสติกส      3. ภาคประชาชนมีสวน
                                                                                          รวมในการบริหารจัดการ
                                     5.ความมั่นคงของ    5. เศรษฐกิจชุมชน                  ฐานทรัพยากรธรรมชาติ

                                     มนุษย                                               และสิ่งแวดลอม




                  2.4   หลักสิทธิมนุษยชนและการคุมครองสิทธิมนุษยชน

                         หลักคิดในการพัฒนาประเทศ จะตองนําหลักการดานสิทธิมนุษยชนที่คํานึงถึงศักดิ์ศรีของความเปน
                  มนุษยของพลเมือง มาเปนองคประกอบในการพิจารณาเพื่อมิใหสรางผลกระทบตอสิทธิเสรีภาพของพลเมือง


                         2.4.1 หลักสิทธิมนุษยชน

                         สิทธิมนุษยชนเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษยที่หามบุคคลอื่นใดละเมิด และเปนสิทธิตามธรรมชาติ

                  (Natural Rights) ที่มีมาแตกําเนิดของมนุษย อันมีฐานจากแนวคิดเรื่องกฎธรรมชาติ (Natural Law)

                         ตอมาภายหลังจากมหาสงครามโลกครั้งสองยุติลง ซึ่งไดนําพาความสูญเสียอยางใหญหลวงตอมวล
                  มนุษยชาติ ประเทศตางๆ จึงรวมมือกันกอตั้งองคการสหประชาชาติ (The  United  Nations)  ขึ้นมา โดยมี
                  วัตถุประสงคหลักคือ “เพื่อยืนยันความเชื่อมั่นตอหลักสิทธิมนุษยชน อันเปนรากฐานสําคัญในศักดิ์ศรีและ

                  คุณคาของมนุษย” ทําหนาที่เปนศูนยกลางใหบรรดาประชาชาติทั่วโลกรวมมือกันทํางานเพื่อสันติภาพและการ
                  พัฒนาโดยอยูบนหลักพื้นฐานของความยุติธรรม ศักดิ์ศรีของมนุษย และความกินดีอยูดีของมนุษย นอกจากนี้
                  เปนเวทีในการสรางดุลแหงการพึ่งพาอาศัยกันและรักษาผลประโยชนชาติในกรณีที่เกิดปญหาระหวางประเทศ
                  ไมวาจะเปนปญหาดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม

                         เพื่อเปนการยืนยันความเชื่อมั่นตอหลักสิทธิมนุษยชนดังกลาว โดยเปนที่ยอมรับกันวาการละเมิด

                  สิทธิมนุษยชนเปนสาเหตุหลักของความขัดแยงและแตกแยกในสังคม สหประชาชาติจึงไดจัดทําปฏิญญาสากล
                  วาดวยสิทธิมนุษยชนขึ้นและไดรับการรับรองเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) โดยถือเปนเอกสาร
                  แมบทดานสิทธิมนุษยชน และประเทศที่ลงนามในปฏิญญานี้มีพันธกรณีที่จะปฏิบัติตามหลักการดังกลาวโดยให
                  สิทธิแกสหประชาชาติในการควบคุมตรวจสอบวา รัฐบาลของแตละประเทศไดเคารพตอการคุมครองและ
                  สงเสริมสิทธิมนุษยชนของพลเมืองหรือไม
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42