Page 35 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 35

26


                  2.3   แนวนโยบายในดานการบริหารราชการแผนดิน


                         สวนการบริหารราชการแผนดินนั้น รัฐบาลไดกําหนดนโยบายพื้นฐานที่จะตองมีการสงเสริมและ
                  สนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในการสงวนบํารุงรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและ
                  ความหลากหลายทางชีวภาพอยางสมดุล รวมทั้งมีสวนรวมในการสงเสริม บํารุงรักษา และคุมครองคุณภาพ
                  สิ่งแวดลอมตามหลักการการพัฒนาที่ยั่งยืน ตลอดจนควบคุมและกําจัดภาวะมลพิษที่มีผลตอสุขภาพอนามัย

                  สวัสดิภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยมุงใหระบบเศรษฐกิจของประเทศเปนแบบเสรีและมีการกํากับดูแล
                  ใหมีการแขงขันอยางเปนธรรม คุมครองผูบริโภคและปองกันการผูกขาดตัดตอน  ซึ่งหากพิจารณาแนวนโยบาย
                  การพัฒนาประเทศที่ผานมาจะเห็นไดวามีการวางแนวนโยบายสวนใหญเปนการพัฒนาดานเศรษฐกิจ ดานสังคม
                  และสิ่งแวดลอมเปนหลัก สวนการพัฒนาดานอื่นๆ จะขึ้นกับสภาพสังคมของชวงเวลานั้นๆ

                         โดยสามารถสรุปกรอบคิดของนโยบายการบริหารราชการแผนดินไดดังนี้



                         ตารางที่ 1 : สรุปกรอบคิดของนโยบายการบริหารราชการแผนดิน



                       ป พ.ศ.        นโยบายทางสังคม          นโยบายดานเศรษฐกิจ          นโยบายดานสิ่งแวดลอม

                  ป พ.ศ. 2500 –     1. ลดปญหาการ      1. วางระบบโครงสรางพื้นฐาน        1. การใช
                  2524               เหลื่อมล้ําในสังคม   2. เสริมสรางผลผลิตทางการเกษตรที่  ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อ

                  ชวงเวลาแหงการ    2. การศึกษา        เพิ่มมากขึ้น                      การพัฒนาประเทศ
                  ปรับโครงสรางทาง   3. การสาธารณสุข    3. สงเสริมการลงทุนภาคอุตสาหกรรม   2. การอนุรักษและฟนฟู

                  เศรษฐกิจของ                                                             ทรัพยากรธรรมชาติที่
                  ประเทศ             4. ระบบ            4. การขยายพื้นที่การลงทุน         เสื่อมโทรม
                                     สาธารณูปโภคขั้น    5. การหาตลาดทางการคาระหวาง

                                     พื้นฐาน            ประเทศ


                  ป พ.ศ. 2525 –     1. ลดปญหาการ      1. พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน          1. การใช
                  2534               เหลื่อมล้ําในสังคม   2. สงเสริมผลผลิตทางการเกษตรที่เพิ่ม  ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อ

                  ทศวรรษแหงการ      2. การศึกษา การ    มากขึ้น                           การพัฒนาประเทศ
                  พัฒนาประเทศ        สาธารณสุข          3. สงเสริมการลงทุนภาคอุตสาหกรรม   2. การอนุรักษและฟนฟู

                                     3. ระบบ            4. การขยายพื้นที่การลงทุน         ทรัพยากรธรรมชาติที่
                                     สาธารณูปโภคขั้น                                      เสื่อมโทรม
                                     พื้นฐาน            5. การหาตลาดทางการคาระหวาง
                                                        ประเทศ

                                                        6. การสรางความสัมพันธกับนานาชาติ
                                                        เพื่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40